Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.อนุภาค เสาร์เสาวภาคย์-
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ ปินนะen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T07:25:24Z-
dc.date.available2017-08-30T07:25:24Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40007-
dc.description.abstractThis independent research aims to study the traveler's satisfaction for the element of tourism logistics and the impact of tourism logistics on loyalty of tourists in Phrae Province. The samples are 400 tourist randomly selected from visitors that travel to Phare province. Questionnaires are applied for the data collection. The data collection is also analyzed by using Likert Scale for studying the traveler's satisfaction for the element of tourism logistics and the impact on the travelers’ mind in their decision to revisit Phare. Plus, Structural Equation Model: SEM is also applied in the analysis to discover the impact of tourism logistics on loyalty of tourists in Phrae Province. The study reveals that most of the respondents are less than 30 years-old female, single, with Bachelor’s degree. They are the officer or government officer with the salary less than 15,000 baht per month. Moreover, they have been visited Phrae less than 3 times per year, They were informed about travelling information from their friends and decided to travel by themselves with their private vehicle. However, they cannot decide that they will revisit Phare in the future or either recommend to others, yet. The results from Likert Scale reveal that there are several factors which affect the travellers to revisit Phrae. The first factor is physical factor-the road during the journey in Phare (37.25%), followed by the informative factor- guide post (35.35%). Plus, financial factor- Automatic Teller Machine location (33.75%), followed by the public utility- Internet WIFI 3G (32.75%). Moreover, the permanent factor-good materials (34.25%), seducing travelling place-Cultural and historical travelling places (35.50%), the convenient journey- the highway between provinces (36.25%), the convenient basic public utility and hospital (33.50%), Clean motel with appropriate price (34.50%), and cultural festivals (38.50%). For the impact of tourism logistics on loyalty of tourists in Phrae Province which is analyzed by Structural Equation Model: SEM with R program, the analysis got PIFFS ~ FiveA ~ Loyalty as a model. The result reveals that the data are related in the same way. The relations between PIFFS factors which have effect on FiveA including, the guide post, waste segregation, ATM (the amount of ATM in Phrae) 0.641 in lever 0.01 significance of statics. To illustrate, if the PIFFS variable increase 1 unit, FiveA factor will increase 0.641 units. Finally, FiveA factor that has effect on the loyalty of tourists in Phrae including, natural study-walking activity, national park, motel with appropriate price, and natural travelling places such as waterfall and mountain 0.489 in lever 0.01 significance of statics. To illustrate, if the FiveA factor increase 1 unit, the loyalty of tourists in Phrae will increase 0.489 units.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเดินทางen_US
dc.titleผลกระทบของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeImpact of Tourism Logistics on Loyalty of Tourists in Phrae Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc915.9365-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashการเดินทาง-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว -- พฤติกรรม-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 915.9365 ม117ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในเรื่อง ผลกระทบของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อองค์ประกอบโลจิสติกส์การท่องเที่ยวของจังหวัดแพร่ และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดแพร่ จำนวน 400 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การเก็บแบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์แบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบลิเคิท-สเกล (Likert Scale) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อองค์ประกอบโลจิสติกส์การท่องเที่ยวของจังหวัดแพร่ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจกลับไปท่องเที่ยวแพร่ซ้ำอีกครั้ง และการวิเคราะห์จากแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model:SEM) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุไม่เกิน 30 ปี สถานภาพโสด การศึกษาในระดับปริญญาตรี ทำงานเป็นพนักงานบริษัท, ข้าราชการ และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่า 15,000 บาท โดยพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวไปยังจังหวัดแพร่น้อยกว่า 3 ครั้ง รับทราบขอมูลข่าวสารจากเพื่อนหรือคนรู้จัก และมักจะเดินทางท่องเที่ยวเอง (รถส่วนตัว) โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปยังหวัดแพร่นั้น พบว่า ยังไม่สามารถตัดสินใจได้ว่าจะกลับมาเที่ยวหรือแนะนำให้ผู้อื่นมาท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจกลับไปท่องเที่ยวแพร่ซ้ำอีกครั้งของผู้ตอบแบบสอบถามจากการวิเคราะห์แบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบลิเคิท-สเกล (Likert Scale) ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ปัจจัยทางด้านกายภาพ-เส้นทางในการเดินทางในแพร่ ในระดับความคิดเห็น ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 37.25 ปัจจัยด้านข้อมูลข่าวสาร-ป้ายบอกทาง ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 35.25 ปัจจัยด้านข้อมูลการเงิน-จุดตั้งเครื่องกด ATM ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 33.75 ปัจจัยด้านสาธารณูปโภค- Internet WIFI 3G ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 32.75 ปัจจัยด้านความยั่งยืน-การใช้วัสดุที่เป็นมิตรระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 34.25 ปัจจัยด้านสิ่งที่ดึงดูดใจ-แหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ระดับความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 35.50 ปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในการเดินทาง-ทางหลวงแผ่นดินเชื่อมต่อระหว่างจังหวัดใกล้เคียง ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 36.25 ปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวก-สาธารณูปโภคพื้นฐานและโรงพยาบาลในระดับความคิดเห็น ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 33.50 ปัจจัยด้านที่พัก-ที่พักสะอาด น่าเข้าพัก และที่พักราคาเหมาะสม ในระดับความคิดเห็น ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 34.50 ปัจจัยด้านด้านประเพณี:งานฤดูหนาวไทยล้านนากาชาด งานประเพณีกำฟ้าไทยพวน ในระดับความคิดเห็น ระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 38.50 สำหรับปัจจัยที่มีผลกระทบของโลจิสติกส์การท่องเที่ยวต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ จากการวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM Model) ด้วยโปรแกรม R ได้เป็นแบบจำลอง PIFFS ~ FiveA ~ Loyalty พบว่าปัจจัยทั้ง 3 มีความสัมพันธ์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย PIFFS ที่มีผลต่อ FiveA ประกอบไปด้วย ป้ายบอกทาง การแยกขยะ การบริการตู้ATM (จำนวนตู้ ATM ตามแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่) มีค่าเท่ากับ 0.641 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 กล่าวคือ หากตัวแปรประจักษ์ PIFFS เพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย ปัจจัย FiveA เพิ่มขึ้น 0.641 หน่วย ส่วนปัจจัย FiveA ที่มีผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ ประกอบไปด้วย กิจกรรมเดินศึกษาธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติ ที่พักราคาเหมาะสม แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เช่น น้ำตก ห้วยโรง แก่งหลวงและภูเขาหินประการัง มีค่าเท่ากับ 0.489 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 กล่าวคือ หากปัจจัย FiveA เพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย ความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่ เพิ่มขึ้น 0.489 หน่วยen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2Abstract.docxAbstract (words)188.94 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 270.28 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.