Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐสิทธิ์ สุขะหุต-
dc.contributor.authorภพธร ลี้ตระกูลen_US
dc.date.accessioned2017-08-25T04:43:11Z-
dc.date.available2017-08-25T04:43:11Z-
dc.date.issued2557-09-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39989-
dc.description.abstractThe objective of this independent study on the topic of “Gestures Control of Google Maps Using Kinect 3D Depth Camera” was to develop an intuitive 3D interface using a Kinect 3D depth camera sensor on personal computer for google maps applications control. For this purpose we performed body segmentation based on the depth map of the user and tracked the body movement across background. Based on the tracking information we detected and recognized various gestures. For each of the gesture recognized we then performed mouse actions to control a google maps application that applied with Kinect 3D depth camera. The results were satisfactory and the efficiency of the gestures were recognized to a good degree of accuracy in all 3 interesting subjects, the speed of processing, the ease of gestures control, and the appropriate selection of gestures. Finally, the overall results were consistent with the objective of the study.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกูเกิล แม็ปส์ (บริการออนไลน์)en_US
dc.titleการใช้สัญลักษณ์ท่าทางเพื่อควบคุมการทำงาน ของกูเกิลแมปส์โดยใช้กล้องความลึกสามมิติคิเนกท์en_US
dc.title.alternativeGestures Control of Google Maps Using Kinect 3D Depth Cameraen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc006.686-
thailis.controlvocab.thashกูเกิล แม็ปส์ (บริการออนไลน์)-
thailis.controlvocab.thashการทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์-
thailis.manuscript.callnumberว 006.6869 ภ164ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระ “การใช้สัญลักษณ์ท่าทางเพื่อควบคุมการทำงานของกูเกิลแมปส์โดยใช้กล้องความลึกสามมิติคิเนกท์” มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์หรือแอพพลิเคชันสำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านอุปกรณ์คิเนกท์บนพื้นฐานของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ เพื่อควบคุมการทำงานของกูเกิลแมปส์ โดยคิเนกท์จะวิเคราะห์ลักษณะการเคลื่อนไหวของข้อต่อภายในส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อนำไปวิเคราะห์ท่าทางในช่วงเวลาที่ผู้ใช้กำลังเคลื่อนไหว และสามารถที่จะจำแนกผู้ใช้ออกจากสภาพแวดล้อมที่เป็นฉากหลังได้ดีกว่า โดยมองภาพที่รับมาเป็นเชิงภาพลึกสามมิติ และเชิงภาพโครงกระดูก จึงเป็นเทคโนโลยีที่น่าสนใจในการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อนำมาระบุตำแหน่งที่ใช้ในการชี้ หรือควบคุมการใช้งานแทนการใช้เมาส์ และคีย์บอร์ดในการควบคุม โดยนำไปแสดงผลเพื่อควบการใช้งานบนกูเกิลแมปส์ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่นำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับอุปกรณ์คิเนกท์ในการค้นคว้าแบบอิสระนี้ ผลจากการศึกษา และประเมินประสิทธิภาพของการเคลื่อนไหวโดยใช้สัญลักษณ์ท่าทางในการควบคุมการทำงาน จากแบบสอบถามความพึงพอใจ พบว่าด้านความรวดเร็วในการประมวลผลของสัญลักษณ์ท่าทาง ด้านการใช้งานที่ง่ายต่อการควบคุม และด้านความเหมาะสมในการเลือกใช้สัญลักษณ์ท่าทางในการสื่อความหมาย ผู้ใช้มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด ทั้ง 3 ด้าน และผลจากการทดสอบการทำงานของระบบกับการใช้สัญลักษณ์ท่าทางเพื่อควบคุมการทำงานของกูเกิลแมปส์ พบว่าระบบสามารถทำงานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT174.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1507.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 21.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 31.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 43.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5712.8 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT300.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER627.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE263.09 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.