Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. วรทัศน์ อินทรัคคัมพร-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดุษฎี ณ ลำปาง-
dc.contributor.authorปรานอม แสงจันทร์en_US
dc.date.accessioned2017-08-25T04:42:00Z-
dc.date.available2017-08-25T04:42:00Z-
dc.date.issued2557-08-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39988-
dc.description.abstractThe objectives of the study were to study socio – economic factors effecting farmer’s adoption of peanut production in Lampang province and to study the problem and recommendation concerning about farmer’s adoption of peanutproduction in Lampang province. The sample composed of 154 peanut farmers who used to getting this technology from Agricultural information department in Lampang province. Data was collected by the use of questionnaires. Statistical techniques used were percentage, average, minimum and maximum, standard deviation and chi – square From research finding, it was found that 59.7 percent of these farmers were males, age average 53 years, grade 4 educations, having these experiences 2 – 6 years, themselves fund and they was 3 family labor to product peanut. Anyway, 29.2 percent of daily labor was hired during invest time. For the area of peanut production was everage 2 rais and during 2010-2011 be, peanut production was average 301-400 kg/rai or in term of price was 4,001-6,000 thai bahts This can be calculated at 11 thai bahts for the fresh peanut retail price. During 2011-2012 be, peanut production was average 301-400 kg/rai or in term of price was 4,001-6,000 Thai bahts and It can be calculated at 12 thai bahts for the fresh peanut retail price .for Their income from peanut production was average 20,001-25,000 thai bahts yearly while the other income was average 23,253 thai bahts yearly. For the source of farmer’s knowledges to product peanut was from the agricultural officers during 1 month a time. The other source of this knowledges were from publication, semina and taking part of the agricultural co-operation. The high level concerning about farmer understand of peanut production technology. From the study results of attitudes toward peanut production technology was found that they all accepted this technology as can be divide into 4 issuses; there were 1) racing was divided into plot cultivation and furrowing cultivation every time 2) putting 2-3 seeds per hole 3) seed selection before planting and 4) gypsum was used in the first bloom time. Education, family number and attitudes correlated with this adoption at significant oil and 0.5 respectively. And farmer’s problem was high cost, the plow tillage expensive, weeds in tillage, not understand the nutrition and the elimination of aspids, sub – terranean ant and mice.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงของเกษตรกรในจังหวัด ลำปางen_US
dc.title.alternativeFarmer’s Adoption of Peanut Production Technology in Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc633.368-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashถั่วลิสง -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashถั่วลิสง -- การผลิต-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 633.368 ป172ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม ของเกษตรกรที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสง จ.ลำปาง และเพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ตลอดจนข้อเสนอแนะ ของการใช้เทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสง จ.ลำปาง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงในพื้นที่ จังหวัดลำปางที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากกรมวิชาการเกษตร จำนวน 154 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า เกษตรกรผู้ผลิตถั่วลิสงร้อยละ 59.7 เป็นเพศชาย มีช่วงอายุเฉลี่ยประมาณ 53 ปี มีการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสบการณ์ในการปลูกอยู่ในช่วงระหว่าง 2 – 6 ปี เกษตรกรเกือบทั้งหมดใช้เงินออมเป็นแหล่งเงินทุน มีแรงงานผลิตถั่วลิสงในครัวเรือน 3 คน เกษตรกรมีการจ้างแรงงานเพียงร้อยละ 29.2 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจ้างเพื่อการเก็บเกี่ยว การจ้างเป็นการจ้างแบบรายวัน เกษตรกรปลูกในพื้นที่ 2 ไร่ ใช้ที่ดินของตนเองในการปลูกถั่วลิสง ผลผลิตถั่วลิสง ที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2553/2554 อยู่ในช่วงระหว่าง 301 - 400 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อคิดมูลค่าของผลผลิตเป็นตัวเงินคิดเป็นตัวเงินอยู่ในช่วงระหว่าง 4,001 - 6,000 บาท เกษตรกรขายผลผลิตถั่วลิสง ในรูปแบบผลสด โดยขายผลผลิต 11 บาทต่อกิโลกรัม ผลผลิตถั่วลิสงที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2554/2555 อยู่ในช่วง ระหว่าง 301 - 400 กิโลกรัมต่อไร่และเกษตรกรขายในรูปแบบผลสด 12 บาทต่อกิโลกรัม ในด้านของรายได้จากการปลูกถั่วลิสงอยู่ในช่วง 20,001 - 25,000 บาท ด้านรายได้จากอาชีพอื่น ๆ เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ย 23,253 บาทต่อปี แหล่งความรู้ทางการเกษตร ได้แก่ หน่วยบริการคลินิกเกษตร เจ้าหน้าที่การเกษตรของรัฐ เป็นต้น เกษตรกรมีความถี่ในการติดต่อมากกว่า 1 เดือน/ครั้ง มีการอบรมหรือประสบการณ์การผลิตถั่วลิสงกับเพื่อน และกับเจ้าหน้าที่ เกษตรกรบางส่วนเป็นสมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มผู้ปลูกถั่วลิสง และกลุ่มสหกรณ์การเกษตร โดยภาพรวมเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงอยู่ในระดับมาก มีระดับทัศนคติต่ออยู่ในระดับเห็นด้วยในทุกประเด็น เกษตรกรปฏิบัติตามเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสง ใน 4 ประเด็น ได้แก่ 1) ในด้านการเตรียมแปลง เกษตรมีการแบ่งเป็นแปลงย่อยและยกร่องปลูกทุกครั้ง 2) เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ จำนวน 2-3 เมล็ดต่อหลุม 3) มีการคัดเมล็ดพันธุ์ดีก่อนปลูก โดยคัดเฉพาะเมล็ดที่สมบูรณ์ และ 4) มีการใส่ยิปซั่มในระยะออกดอกชุดแรก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงในจังหวัดลำปาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ ระดับการศึกษา และจำนวนแรงงานครัวเรือน ส่วนปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ทัศนคติของเกษตรกรต่อเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสง และเกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับต้นทุนสูงสำหรับค่าจ้างไถเตรียมดิน พบวัชพืชในการเตรียมดินเพื่อผลิตถั่วลิสง ไม่มีความรู้เรื่องธาตุอาหารของพืช ไม่ทราบวิธีกำจัดเพลี้ยและพบเสี้ยนดิน รวมทั้งพบหนูนาในพื้นที่เพาะปลูกen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT246.89 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX340.94 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1201.56 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2407.76 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3352.23 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4619.06 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5309.17 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT156.97 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER610.68 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE256.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.