Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ. ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ-
dc.contributor.advisorรศ. ดร. รุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorอ. ดร. ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย-
dc.contributor.authorวินัย ขาวมีen_US
dc.date.accessioned2017-08-25T03:27:40Z-
dc.date.available2017-08-25T03:27:40Z-
dc.date.issued2557-08-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39972-
dc.description.abstractIndependent Study Title “Knowledge Management of Farmers on Rice Production at Mueang Kaew Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province” has objective to find out the Knowledge Management of Farmers on Rice Production at Mueang Kaew Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province. The purpose of the study were to investigate on the knowledge management, the problems and the suggestions on Rice production of agriculturists in the area of study. The participants were 134 farmers from Mueang Kaew Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province. The subject will be analysed on the method of knowledge management of farmers included creating, researching, developing and exchanging knowledges. The research found that knowledge management of farmers on rice production Includes the creation of knowledge and this knowledge construction by bringing the wisdom passed down from ancient to practice, combined with the knowledge which transfer of the agricultural extension officers as well as the knowledge gained from a neighbor applied in the farm. The pursuit of knowledge found that the farmers who participate in activities such as training as well as medias like television, radio, document, applied knowledge reveal that the knowledge derived from practice. The exchanged knowledge isshared in discussion after work in the community such as markets, shops and facilities within the community. The findings showed that the problems and difficulties are the deficiency of effective rice manufacturing, new training methods and belief on traditional ways. Therefore, the rice production have not been developing as expected. The direction of this paper is the government and relative organization should support the development of rice manufacture, improve and exchange new knowledges in the communities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวของเกษตรกร ตำบลเหมืองแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge management of farmers on rice production at Mueang Kaew Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc633.18-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- การผลิต -- แม่ริม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- แม่ริม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 633.18 ว3511ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง “การจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลเหมืองแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวของเกษตรกรในตำบลเหมืองแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวของเกษตรกรในตำบลเหมืองแก้ว เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 134 คน วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทการผลิตข้าวของเกษตรกรโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เช่น ร้อยละ ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าว ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการความรู้ วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวของเกษตรกรประกอบด้วย การสร้างความรู้ซึ่งเกษตรกรสร้างความรู้โดยการนำภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษมาทดลองปฏิบัติผสมผสานกับความรู้จากการถ่ายทอดของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรรวมทั้งความรู้ที่ได้จากเพื่อนบ้านมาประยุกต์ใช้ ด้านการแสวงหาความรู้พบว่าเกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรม เช่น การฝึกอบรม ตลอดจนสื่อต่างๆเช่น โทรทัศน์ วิทยุ เอกสารต่างๆ การปรับใช้ความรู้ พบว่าเกษตรกรนำเอาความรู้จากการถ่ายทอดมาทดลองปฏิบัติ ด้านการแลกเปลี่ยนความรู้พบว่าเกษตรกรมีการแลกเปลี่ยนความรู้โดยการพูดคุยกันหลังเลิกงานในที่ชุมชน เช่น ตลาด ร้านค้า งานเลี้ยงภายในชุมชน เป็นต้น สำหรับปัญหาในการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าวนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่เคยได้รับการถ่ายทอดจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรผ่านการฝึกอบรม นอกจากนี้ช่องทางการเข้าถึงความรู้ผ่านสื่อต่างๆยังไม่มีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างเกษตรกรที่ได้ผลผลิตสูงกับเกษตรกรที่ได้ผลผลิตต่ำยังไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นข้อเสนอแนะในการจัดการความรู้เรื่องการผลิตข้าว เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในตำบลและนักวิชาการเกษตรขององค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองแก้ว จัดกิจกรรมถอดบทเรียนของเกษตรกรที่ได้ผลผลิตข้าวสูงและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้องค์ความรู้ดังกล่าวรวมทั้งการศึกษาดูงานแปลงสาธิตของเกษตรกรที่ได้ผลผลิตข้าวสูง โดยให้เกษตรกรเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้กันเองภายในชุมชนen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT269.82 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX265.95 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER1.pdf CHAPTER1220.64 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER2.pdfCHAPTER2288.39 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER3.pdfCHAPTER3308.51 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER4.pdf CHAPTER4343.41 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER5.pdfCHAPTER5222.82 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT255.25 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER702.52 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE242.31 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.