Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศพร คำผลศิริ-
dc.contributor.authorศศิธร พิชัยพงศ์en_US
dc.date.accessioned2017-07-11T04:45:32Z-
dc.date.available2017-07-11T04:45:32Z-
dc.date.issued2557-08-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39897-
dc.description.abstractPressure sores among postoperativeelderly patients with traumatic brain injuryisan importantproblem that can havephysiological,spiritual, and socialimpacts.Theobjective of this study was to conduct a situational analysisof pressure sores prevention among postoperative elderly patients with traumatic brain injury in the Male Surgical Ward ofLamphun Hospital based on the framework of Donabedian’squality of caredevelopmentwhich include the domains of structure, process, and outcome. The sample was purposively selected from 3 populations including:1) 3 administratorsincluding thehospital director, head nurse of the surgical unit, and head nurse of male surgical ward; 2) 12 service providersincluding 6 nurses, 3 nurse aids, 1 physician, 1 nutritionist, and 1 physical therapist; and 3) 5 elderly patients and 5 caregivers. The instruments used for collecting data were: 1)demographic data recording form,2) in-depth interview guideline; and 3) pressure ulcer prevention knowledge test. Data were analyzed using descriptive statistics and content analysisbased on the framework. The results of this study revealed the following: 1. Structure: Apolicy for care andprevention of pressure sores that includedspecific factors and development pattern of care was already in place.Aspecific care team for elderly patients existed but there was no specific team for pressure sore care.A health care team had support for developing research and training on pressure sore prevention.There was insufficient medical equipment.There was no specific budget for pressure sores. 2. Process: there was a guideline for pressure sorepreventiondeveloped6 years ago and was not updated. Continuous care based onthis guideline was not provided because there was not enough time. Caregivershad low participation in discharge planning. 3. Outcome: The incidence of pressure soreshad not decreased in the hospital. Caregivers had mild to moderate levels of pressure sore prevention knowledge and understanding. Care providers had moderate levels of pressure sore prevention knowledge and understanding. The findingsfromthis study could serve as guidelines for developingquality of care for postoperative elderly patients with traumatic brain injury in the MaleSurgicalWardofLamphunHospital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectPressure ulceren_US
dc.subjectPrevention & controlen_US
dc.subjectBrain injuriesen_US
dc.titleการวิเคราะห์สถานการณ์การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยสูงอายุ บาดเจ็บสมองที่ได้รับการผ่าตัด หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลลำพูนen_US
dc.title.alternativeSituational Analysis of Pressure Sores Prevention Among Postoperative Elderly Patients with Traumatic Brain Injury, Male Surgical Ward, LamphunHospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.thashPressure ulcer -- prevention & control-
thailis.controlvocab.thashBrain injuries-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ศ182ก 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเกิดแผลกดทับในผู้สูงอายุบาดเจ็บสมองที่ได้รับการผ่าตัดเป็นปัญหาสำคัญที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยสูงอายุบาดเจ็บสมองที่ได้รับการผ่าตัด หอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลลำพูนตามกรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการดูแลของโดนาบีเดียนประกอบด้วย ด้านโครงสร้าง ด้านกระบวนการและด้านผลลัพธ์ โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง3 กลุ่มประกอบด้วย1. กลุ่มผู้บริหาร 3 คนได้แก่ผู้อำนวยการโรงพยาบาล หัวหน้าพยาบาลกลุ่มงานศัลยกรรมและหัวหน้าหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 2.กลุ่มผู้ให้บริการ 12 คน ได้แก่พยาบาล 6 คนผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย 3 คนแพทย์ 1 คน นักโภชนาการ 1 คน นักกายภาพบำบัด 1 คน 3.ผู้รับบริการ 10 คนได้แก่ผู้ป่วยสูงอายุ 5 คน และผู้ดูแล5 คนเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลได้แก่1.แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล2.แบบสัมภาษณ์เชิงลึกสำหรับผู้บริหารสำหรับผู้ให้บริการ และสำหรับผู้ดูแล3.แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับสำหรับบุคลากรสุขภาพและ สำหรับผู้ป่วยหรือญาติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตามกรอบแนวคิด ผลการศึกษาพบว่า 1. ด้านโครงสร้างพบว่ามีนโยบายพัฒนาการดูแลเพื่อป้องกันความเสี่ยงซึ่งในการเกิดแผลกดทับ มีการกำหนดตัวชี้วัดและกำหนดรูปแบบการพัฒนาที่ชัดเจน มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยตรงแต่ไม่ได้เฉพาะเจาะจงในการดูแลเรื่องแผลกดทับ บุคลากรได้รับการสนับสนุนให้ทำวิจัย และอบรมด้านการป้องกันการเกิดแผลกดทับ ส่วนอุปกรณ์ในการป้องกันการเกิดแผลกดทับและการใช้งานพบว่ายังไม่เพียงพอยังไม่มีการจัดสรรงบประมาณเฉพาะในการจัดการเรื่องแผลกดทับ 2. ด้านกระบวนการพบว่ามีการพัฒนาแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดแผลกดทับและบุคลากรยึดถือปฏิบัติกับผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุมาเป็นเวลา 6 ปี แต่ยังไม่มีการปรับให้ทันสมัย และการปฏิบัติขาดความต่อเนื่องสม่ำเสมอเนื่องจากภาระงานมาก ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการวางแผน การจำหน่ายน้อย 3. ด้านผลลัพธ์พบว่า ด้านผู้ป่วยอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับยังไม่ลดลงผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดแผลกดทับในระดับน้อยถึงปานกลางด้านบุคลากรสุขภาพ พบว่ามีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดแผลกดทับในระดับปานกลาง ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่บาดเจ็บสมองและได้รับการผ่าตัดหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลลำพูนให้ดียิ่งขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT192.15 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1267.07 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2366.84 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3227.12 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4475.68 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5167.39 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT179.77 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER508.29 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE351 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.