Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.นพ.กิตติศักดิ์ อุ่นศรีส่ง-
dc.contributor.advisorผศ.พญ.กนกพร โอฬารรัตนชัย-
dc.contributor.advisorอ.นพ.ธนพ ศรีสุวรรณ-
dc.contributor.authorสุธาสินี คงพร้อมสุขen_US
dc.date.accessioned2017-04-11T09:25:32Z-
dc.date.available2017-04-11T09:25:32Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39887-
dc.description.abstractObjective: To analyse natural history, angioarchitecture, management and treatment outcomes of intracranial dural arteriovenous fistula in our institute. Methods and Materials: A retrospectively reviewed 61 patients with intracranial dural arteriovenous fistulas (DAVF) presented at our institute between June 2010 and October 2014. The clinical presentations, presumable causes, imaging findings and treatment outcome were reviewed. Results: The mean age of the study population was 50.4 years with a female predominant. The majority of cases (77%) presented with benign symptoms. DAVF at the sigmoid sinus and anterior cranial fossa were found to present with malignant clinical presentation (P<0.05). A benign clinical manifestation was found with statistical significant (P<0.001) in the location of the cavernous sinus. Cortical venous reflux (CVR) was found in all cases presented with aggressive manifestation (P<0.001) and no CVR was present when there was no venous outflow restriction (P<0.001). Conservative management and symptomatic treatment in patients with tolerable benign symptoms and absence of CVR showed an improved clinical outcome in about 82%. All of the patients underwent embolization had improved clinical outcome. Conclusion: DAVF commonly occurs in middle to late adulthood with a variable clinical manifestations mostly associated to the shunt location. Shunt location, CVR and venous outflow restriction were shown to be related with aggressive manifestation. Endovascular embolization was the mainstay therapeutic method with high rate of good outcomes. In the absence of CVR and tolerable benign symptoms, conservative management with symptomatic treatment could be done. Keywords: dura mater, arteriovenous fistula, clinical manifestation, therapeutic embolizationen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ลักษณะโรคของผู้ป่วยในเขตภาคเหนือตอนบนด้วย ภาวการณ์เชื่อมต่อผิดปกติของหลอดเลือดแดงและดำที่ระดับเยื่อหุ้มสมอง การศึกษาเบื้องต้นen_US
dc.title.alternativeAnalysis of Intracranial Dural Arteriovenous Fistulas in Northern Thailand: Preliminary Studyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ : เพื่อทำการวิเคราะห์ลักษณะโรคและผลการรักษาของผู้ป่วยด้วยภาวะการเชื่อมต่อผิดปกติของหลอดเลือดแดงและดำที่ระดับเยื่อหุ้มสมอง เครื่องมือและวิธีการศึกษา : การศึกษานี้ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นการศึกษาลักษณะทางคลินิกและภาพวินิจฉัยจากภาพรังสีหลอดเลือดของผู้ป่วย 61 รายที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะการเชื่อมต่อผิดปกติขอหลอดเลือดแดงและดำที่ระดับเยื่อหุ้มสมองตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ.2553 ถึงตุลาคม พ.ศ. 2557 โดยศึกษาทั้งในแง่ของ อาการแสดง ภาวะที่อาจเป็นสาเหตุ ตำแหน่ง และการรักษา ผลการศึกษา : ผู้ป่วยจำนวน 61 คนอายุเฉลี่ย 50.4 ปีมาพบแพทย์ด้วยอาการรุนแรง 14 ราย และอาการไม่รุนแรง 57 ราย ตำแหน่งของรอยโรคแบ่งเป็นสามกลุ่มคือ Ventral epidural 39 ราย Dorsal epidural 6 รายLateral epidural 3 ราย อีก 3 รายเป็นรอยโรคบริเวณ parasagittal และรอยโรคหลายบริเวณ 10 ราย โดยอาการที่รุนแรงของโรคจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของรอยโรค และการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมอง หากรอยโรคอยู่บริเวณ Cavernous sinus น่าจะมาด้วยอาการไม่รุนแรง(P <0.001) แต่หากรอยโรคอยู่บริเวณ sigmoid sinus หรือรอยโรคในบริเวณฐานกะโหลกด้านหน้าผู้ป่วยน่าจะมาด้วยอาการรุนแรง (P=0.022) และ (P <0.001) ตามลำดับ ผู้ป่วยทุกคนที่มีการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมองจะมีการลดการไหลเวียนของหลอดเลือดดำร่วมด้วย(P <0.001) ในผู้ป่วยที่ไม่มีการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมองได้รับการรักษาด้วยการติดตามอาการอย่างใกล้ชิด 15 คนซึ่งผลปรากฏว่า 12 คนอาการดีขึ้นเอง 29 จาก 30 คนที่ได้รับการรักษาด้วยการอุดหลอดเลือดอาการดีขึ้นโดยอีกหนึ่งคนจำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด สรุปผลการศึกษา : ภาวการณ์เชื่อมต่อผิดปกติของหลอดเลือดแดงและดำที่ระดับเยื่อหุ้มสมองเป็นภาวะที่พบได้ไม่บ่อย ซึ่งมักเกิดในช่วงวัยกลางคน อาการแสดของโรคสัมพันธ์กับตำแหน่งรอยโรคและการมีหรือไม่มีของการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมอง ซึ่งการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมองจะเกิดขึ้นไม่ได้หากไม่มีการลดการไหลเวียนของหลอดเลือดดำ การรักษาด้วยการอุดกั้นเส้นเลือดมีผลการรักษาที่ดี และในผู้ป่วยที่ไม่มีการไหลกลับของเลือดเข้าสู่หลอดเลือดดำบริเวณผิวสมองสามารถการเฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิดได้en_US
Appears in Collections:MED: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.5 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 186.47 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.