Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประทุม สร้อยวงค์-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิกุล นันทชัยพันธ์-
dc.contributor.authorสุดารัตน์ เมืองเจริญen_US
dc.date.accessioned2016-12-16T08:35:27Z-
dc.date.available2016-12-16T08:35:27Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39875-
dc.description.abstractFatigue is one of the major problems experienced by lymphoma persons during and after treatment. Thus, the development of fatigue management for lymphoma persons is essential. This operations study aimed to determine the effectiveness of implementing clinical practice guidelines for fatigue management among lymphoma persons in the chemotherapy section of Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, Chiang Mai Province. The framework implemented was the clinical practice guidelines of the Australian National Health and Medical Research Council (NHMRC, 1999). The subjects included two groups. The first group contained 41 lymphoma persons who received treatment before implementing the clinical practice guidelines from August to September 2013, and the other group contained 31 lymphoma persons who received treatment after implementing the guidelines from November to December 2013. The study instruments included: 1) the Clinical Practice Guidelines for Fatigue Management among Patients with Bone Tumor and Soft Tissue Sarcoma, and the Manual of Fatigue Knowledge with Self-Care for Fatigue Management developed by Toimamueang (2011), 2) the Revised Piper Fatigue Scale, and 3) the Karnofsky Performance Status Questionnare. The instruments were approved by experts. Data were analyzed using descriptive statistics. The results revealed that: 1. The percentage of subjects receiving treatment before implementing the clinical practice guidelines for fatigue management among lymphoma persons had a low level of fatigue of 31.71 %, whereas that of those receiving treatment after implementing the clinical practice guidelines had a low level of fatigue of 41.94%. The percentage of subjects receiving treatment before implementing the clinical practice guidelines had a moderate level of fatigue of 68.29 %, whereas that of those receiving treatment after implementing the clinical practice guidelines was 58.06 %. 2. The percentage of subjects receiving treatment before implementing the guidelines who were able to carry on normal activity and work and needed no special care was 34.15 %, and the subjects who were unable to work but able to stay at home while needing care based on changes of symptom was 65.85 %. The percentage of subjects receiving treatment after implementing the guidelines who were able to carry on normal activity and work, and who needed no special care was 61.29 %. The same percentage for those subjects who were unable to work and who stayed at home was 38.17%. The findings of this study demonstrate that implementing the clinical practice guidelines for fatigue management among lymphoma persons could decrease fatigue and enhance the activity capacity. Thus, this clinical practice guidelines should be integrated to standard care. Further study should be conducted to explore the effectiveness of this guideline on the level of suffering related to fatigue, self-care ability, and quality of life.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการ เหนื่อยล้าในผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง หอผู้ป่วยเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing Clinical Practice Guidelines for Fatigue Management Among Lymphoma Persons, Chemotherapy Section, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอาการเหนื่อยล้าเป็นปัญหาสำคัญที่พบได้ในผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองพบทั้งในขณะที่ได้รับการรักษาและภายหลังการรักษา ดังนั้นการพัฒนารูปแบบการดูแลเพื่อจัดการกับอาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความจำเป็น การศึกษาปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยดำเนินการตามกรอบแนวคิดของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999) กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 เป็นผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่มารับการรักษาก่อนใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ระหว่างเดือนสิงหาคม ถึงเดือนกันยายน 2556 จำนวน 41 คน และกลุ่มที่ 2 เป็นผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่มารับการรักษาหลังใช้แนวปฏิบัติ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม 2556 จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งกระดูกและมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน และ แผ่นพับความรู้เรื่องอาการเหนื่อยล้าและการดูแลตนเองในการจัดการอาการเหนื่อยล้า พัฒนาโดย จงกล ต้อยมาเมือง (2554) 2) แบบประเมินอาการเหนื่อยล้าของ ไปเปอร์ และ 3) แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมของคานอฟสกี้ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือก่อนนำไปใช้ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างที่มารับการรักษาก่อนใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกที่มีระดับอาการเหนื่อยล้าน้อยมีร้อยละ 31.71 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างหลังใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกมีร้อยละ 41.94 ส่วนระดับอาการเหนื่อยล้าปานกลางกลุ่มตัวอย่างก่อนใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกมีร้อยละ 68.29 และกลุ่มตัวอย่างหลังใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกมีร้อยละ 58.06 2. กลุ่มตัวอย่างก่อนใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกที่สามารถมีกิจกรรมและทำงานได้ตามปกติ โดยไม่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษมีร้อยละ 34.15 และ กลุ่มที่ไม่สามารถทำงานได้ สามารถใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ต้องการการดูแลตนเองตามอาการที่เปลี่ยนแปลงไปมีร้อยละ 65.85 ส่วนกลุ่มตัวอย่างหลังใช้ แนวปฏิบัติทางคลินิกพบว่ามีกลุ่มที่สามารถมีกิจกรรมและทำงานได้ตามปกติ โดยไม่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษมีร้อยละ 61.29 และกลุ่มที่ไม่สามารถทำงานได้ สามารถใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน ต้องการการดูแลตนเองตามอาการที่เปลี่ยนแปลงไปมีร้อยละ 38.71 ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้ที่เป็นโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองสามารถลดอาการเหนื่อยล้าและมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น จึงควรนำไปผสมผสานกับการดูแลตามมาตรฐานที่มีอยู่แล้วในหอผู้ป่วย และการศึกษาต่อไปควรศึกษาผลลัพธ์ของการนำแนวปฏิบัตินี้ไปใช้ต่อตัวแปรอื่น เช่น ระดับความทุกข์ทรมานจากอาการเหนื่อยล้า ความสามารถดูแลตนเองเพื่อจัดการอาการเหนื่อยล้า และคุณภาพชีวิตen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)176.43 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract175.39 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.