Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39861
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรพงศ์ ตระการศิรินนท์ | - |
dc.contributor.author | ฐิตาภรณ์ จินะกาศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T16:04:32Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T16:04:32Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39861 | - |
dc.description.abstract | The independent study on Creating Land Price Appraisal Transparency by “Touch Screen Price Appraisal Kiosks” Innovation of Lamphun Land Office, Lamphun Province was aimed to 1) study the efficiency of land appraisal through Touch Screen Price Appraisal Kiosks 2) study about the transparency of land appraisal by Touch Screen Price Appraisal Kiosks 3) study the problems and obstacles in implementing Touch Screen Price Appraisal Kiosks to use in Lamphun Land Office, Lamphun Province. This research was composed of qualitative research and quantitative research. The samples used in this study were executives, officials, and general public who received services from Lamphun Land Office. The data were collected by using the ways as follows: 1) in-depth interview with 5 executives and 12 officials 2) focus group discussion with 25 clients and using 400 copies of questionnaires with general public who received services from Lamphun Land Office. The findings indicated that using Touch Screen Price Appraisal Kiosks were results as below. 1) The efficiency of the officials performance was better, reducing the process of public service, and response to the needs of general public in part of basic data monitoring. 2) There were transparency in the disclosure of the land appraisal, audittability, and enhancing the image of the transparency in the public eye. 3) The most problems and obstacles were that the database of recent land certificate was not current. The suggestions of the study were as below. 1) The innovation should be developed the application on smartphone or internet which allow people download any information and map from that site and provide more spots to place Touch Screen Price Appraisal Kiosks in shopping malls. 2) The database should be updated and connected to the information technology system of The Department of Lands. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความโปร่งใส | en_US |
dc.subject | การประเมินราคา | en_US |
dc.subject | ที่ดิน | en_US |
dc.title | การสร้างความโปร่งใสในการประเมินราคาที่ดินด้วยนวัตกรรม “ตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส” ของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Creating land price apprisal transparency by “Touch Screen Price Appraisal Kiosks” innovation of Lamphun Land Office, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 333.332 | - |
thailis.controlvocab.thash | สำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การประเมินราคาที่ดิน -- ลำพูน | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 333.332 ฐ342ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การสร้างความโปร่งใสในการประเมินราคาที่ดิน ด้วยนวัตกรรม “ตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส” ของสำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพในการประเมินราคาที่ดิน ด้วยนวัตกรรมตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส 2) ศึกษาถึงความโปร่งใสในการประเมินราคาที่ดิน ด้วยนวัตกรรมตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส และ 3) ศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการนำตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส มาใช้ในสำนักงานที่ดินจังหวัดลำพูน การค้นคว้าวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และกลุ่มประชาชนผู้มาใช้บริการ ใช้วิธีการศึกษาโดย 1)สัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้บริหาร จำนวน 5 คน และกลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 12 คน และ 2) การสนทนากลุ่มประชาชนผู้มาใช้บริการ จำนวน 25 คน และการใช้แบบสอบถามจำนวน 400 คน ผลการศึกษาพบว่า ตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัส 1) ทำให้ประสิทธิภาพในด้านการทำงานของเจ้าหน้าที่รวดเร็วขึ้น ลดขั้นตอนการให้บริการประชาชนลง ตอบสนองความต้องการของประชาชนในด้านการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น 2) มีความโปร่งใสในการการเปิดเผยข้อมูลราคาประเมินที่ดินที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ เสริมสร้างภาพลักษณ์ความโปร่งใสในสายตาของประชาชน 3) ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่พบส่วนใหญ่คือฐานข้อมูลโฉนดที่ดินใหม่ไม่เป็นปัจจุบัน โดยผลการศึกษามีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ควรพัฒนาให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้จาก Application บน Smartphone/Internet และมีรูปแผนที่ให้ดูประกอบ หรือเพิ่มจุดวางตู้แสดงราคาประเมินระบบสัมผัสในห้างสรรพสินค้า 2) ควรปรับปรุงฐานข้อมูลให้ปัจจุบัน เชื่อมโยงกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมที่ดิน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 208.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 294.21 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 562.18 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 335.52 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 331.19 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 433.94 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 230.15 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 586.51 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 267.69 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.