Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรพิลาส วงศ์เจริญ-
dc.contributor.authorฤทัย ยี่กะแพทย์en_US
dc.date.accessioned2016-12-12T15:22:51Z-
dc.date.available2016-12-12T15:22:51Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39843-
dc.description.abstractThis study of the Polysemous Thai Word “Chap”, which is used in the Bangkok Thai language, aimed to categorize the various meanings of the word, and to explain the semantic expansion from its original, derived sense, to the many others. There were three main approaches used in this study: the Componential Analysis, elements of the word, and its network of meanings. The findings revealed that the meanings of the word “Chap” could be divided into 2 groups: 1) the group containing the meaning “access to something”; and 2) the group containing the meaning “making something change”. The group containing the meaning “access to something” could be divided into 4 sub-groups: (1) access to an area; (2) an occurrence; (3) access to perception; and (4) access to time. Meanwhile, the group containing the meaning “making something change” could be separated into 9 sub-groups: (1) the area of control; (2) control by the use of law or any other means; (3) the use of the foot or other body parts to control a ball; (4) massage of the body to relieve aches and pains; (5) the control following the specification; (6) the possession of a right to ownership; (7) the acquisition to right of anything; (8) the use of any method to discover the truth regarding an offence or action; and (9) the creating of cooperative result. A study of the semantic expansion of the word “Chap” from its derived sense, with the meaning “to touch, to hold”, show that there were two ways of semantic expansion. The first expansion, emphasizing “area”, grew from the meaning “access to an area” into several new meanings: “an occurrence”; “access to perception”; and “access to time”, all by the process of metaphor. The second expansion, emphasizing “authority”, grew from the meaning “the control of” into two new meanings: “the possession of”; and “creating the result”, also by the process of metaphor. However, in the case that semantic expansion took the word from a broad to specific meaning, it would be the process of metonymy that would bring about the change of meaning.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectจับen_US
dc.subjectความหมายen_US
dc.subjectภาษาไทยen_US
dc.title“จับ”: คำหลายความหมายในภาษาไทยen_US
dc.title.alternative“Chap”: a polysemous word in Thaien_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc495.91-
thailis.controlvocab.thashภาษาไทย -- คำ-
thailis.manuscript.callnumberว 495.91 ฤ1411จ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาคำว่า “จับ” คำหลายความหมายในภาษาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดกลุ่มความหมายของคำว่า “จับ” ที่ปรากฏใช้ในภาษาไทยกรุงเทพฯ และเพื่ออธิบายการขยายความหมายของคำว่า “จับ” จากความหมายแรกไปสู่ความหมายอื่นๆ แนวคิดหลักที่ใช้ในการศึกษามี 3 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์องค์ประกอบทางความหมาย แนวคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบความหมายของคำ และแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายความหมาย ผลการศึกษาพบว่า ความหมายของคำว่า “จับ” จัดได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความหมายว่า ‘เข้าถึงสิ่งใดๆ’ และกลุ่มที่มีความหมายว่า ‘ทำให้สิ่งใดๆ เปลี่ยนแปลง’ โดยกลุ่มที่มีความหมายว่า ‘เข้าถึงสิ่งใดๆ’ แบ่งกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มเข้าถึงพื้นที่ (2) กลุ่มการปรากฏ (3) กลุ่มเข้าถึง สิ่งที่มีอยู่ และ (4) กลุ่มเข้าถึงเวลา ส่วนกลุ่มที่มีความหมายว่า ‘ทำให้สิ่งใดๆ เปลี่ยนแปลง’ แบ่งกลุ่มย่อยได้ 9 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มควบคุมพื้นที่ (2) กลุ่มควบคุมด้วยกฎหมายหรือวิธีการใดๆ (3) การใช้เท้าหรืออวัยวะอื่นๆ ควบคุมบอล (4) การนวดร่างกายเพื่อให้หายปวดเมื่อย (5) กลุ่มควบคุมตามที่กำหนด (6) กลุ่มครอบครอง มีกรรมสิทธิ์ (7) กลุ่มการได้มาซึ่งสิทธิ์ในสิ่งใดๆ (8) กลุ่มการใช้วิธีการใดๆเพื่อให้ได้ความจริง ความผิดของการกระทำ และ (9) กลุ่มสร้างผล การขยายความหมายของคำว่า “ จับ” จากความหมายแรกที่หมายถึง ‘สัมผัส กำยึดไว้’ พบว่าขยายความหมายไป 2 แนวทาง ได้แก่ แนวทางที่หนึ่งขยายความหมายไปโดยเน้นพื้นที่ คือ ขยายจาก “การเข้าถึงพื้นที่” ไปสู่ “การปรากฏ” ด้วยกระบวนการอุปลักษณ์, ขยายจาก “การเข้าถึงพื้นที่” ไปสู่ “การเข้าถึงสิ่งที่มีอยู่ (การเข้าถึงจิต) ด้วยกระบวนการอุปลักษณ์, และ ขยายจาก “การเข้าถึงพื้นที่” ไปสู่ “การเข้าถึงเวลา” ด้วยกระบวนการอุปลักษณ์ สำหรับแนวทางที่สองขยายความหมายไปโดย เน้นการใช้อำนาจ คือ ขยายจาก “การควบคุม” ไปสู่ “การครอบครอง” ด้วยกระบวนการอุปลักษณ์ และขยายจาก “การควบคุม” ไปสู่ “สร้างผล” ด้วยกระบวนการอุปลักษณ์ อย่างไรก็ตามในกรณีที่เป็นการขยายความหมายจากความหมายที่กว้างไปสู่ความหมายที่เฉพาะเจาะจงขึ้นจะใช้กระบวนการ นามนัยเป็นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงความหมายen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT446.6 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX666.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1472.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2605.28 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 31.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5302.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT690.87 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER1.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE347.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.