Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญฟ้า ศรีประพันธ์-
dc.contributor.authorจรูญ พรจากสวรรค์en_US
dc.date.accessioned2016-12-12T14:56:01Z-
dc.date.available2016-12-12T14:56:01Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39831-
dc.description.abstractThis research has the objective about studying the quality in the strategy of widespread communication of Chiang Mai Blessing Church. By using the document and deeply interview with the sample people whose are pastor in Chiang Mai Praporn church and the teacher in Punporn village team. Including unreceiving people live in Ueaarthom village in Sankampeang, Chiang Mai. The result of obseving as bolow. 1. Communication Strategy for Protestant Christianity Propagation of Chiang Mai Blessing Church. 1.1 The strategy in missionary's personality. Such as reliability, humility, unique, friendly, how to use appropiate pronoun and adaptation. 1.2 the strategy of communication is how to bring the context of propagation the christ bible. Such as the duration of friendship, when you can interrupt the conversation and the system of Christian propagation. 1.3 The strategy of media. Such as the integrated media which is personal media and speficially business media. In the receiver side is analyze and recruit the new receiver. 2. The result of Chiang Mai Blessing Church propagation in the new receiver group which separate in 3 kinds as below. - the elements of receiving insist of devoting. Included the receiver's maturity, desire, motivation and anticipating of the guardian and teenagers which have the same result by use the activity in music and foreigner language teaching. - The concept of realization in guardian by using music and foreigner language activities. The teenagers recognize the content of Christian preaching which is accord to the 10 provision by using this activities. And it has 3 level of acknowledge the preaching which are the realization, comprehension and adoption. All levels can change the receiver's feeling and attitude. 2.1 The result of Chiang Mai Blessing Church in unacknowledge receiver. The process of propagate the Christian content by using any activities for the samples are the level of acknowledge the Christian content by Punporn center's activities. The 10 provision will insert in every activities smoothly. There are 3 processes of propagation. First is the recognize of Jesus christ by every activities. Then is the faith and practice in Christian principle. The last one is the participate in Christian's rite. The result of this research is the 10 samples who are not educate in Christian before. They can recognize the Christian's preaching but in the physical way by participate in activities of Punporn center only. The level of acknowledge might specify that they are in first level only which is the realization of Jesus christ by using the activities. The 9 of 10 kids and teenagers are in the second level which is the realization of Jesus Christ and the Christian's preaching by using the activities. And one of them are practice in Christian's preaching named is Miss Kannika Pranmool, 15 years old. Her nickname is Beam. She is a student in Sankampeang high school, Chiang Mai. She's approach all 3 levels which are the recognize of Jesus Christ by using the activities, the acknowledge in Christian's preaching and the participate in Christian's rite.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกลยุทธ์ของการสื่อสารen_US
dc.subjectการเผยแพร่คริสต์ศาสนาen_US
dc.subjectคริสต์ศาสนานิกายโปรแตสแตนท์en_US
dc.subjectคริสตจักรพระพรเชียงใหม่en_US
dc.titleกลยุทธ์ของการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่คริสต์ศาสนานิกายโปรแตสแตนท์ของคริสตจักรพระพรเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCommunication strategy for protestant christianity propagation of Chiang Mai Blessing Churchen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc280.4-
thailis.controlvocab.thashคริสตจักรพระพรเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนิกายโปรแตสแตนท์-
thailis.controlvocab.thashคริสต์ศาสนา-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสาร-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 280.4 จ1741ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์ของการสื่อสารเพื่อการเผยแพร่คริสต์ศาสนา นิกายโปรแตสแตนท์ ของคริสตจักรพระพรเชียงใหม่เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับกลุ่มตัวอย่างคือ ศิษยาภิบาลประจำคริสตจักรพระพรเชียงใหม่และทีมงานอาจารย์ของศูนย์บ้านปันพร รวมไปถึงกลุ่มผู้ที่ยังไม่ได้รับเชื่อที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านเอื้ออาทร สันกำแพงเชียงใหม่ รวมทั้งการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผลการศึกษา ปรากฏดังนี้ 1. กลยุทธ์การสื่อสารของคริสตจักรพระพรเชียงใหม่ในการเผยแพร่คริสต์ศาสนา แบ่งได้ 3 ด้าน 1.1 กลยุทธ์ทางด้านบุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ได้แก่ ความน่าไว้วางใจ อ่อนน้อมถ่อมตน ความเป็นตัวเอง ใจบริการความเป็นกันเอง การแทนสรรพนามในการเรียก การปรับตัวเองให้เข้ากับบริบท 1.2 กลยุทธ์ด้านสาร คือ การกำหนดเนื้อหาในการเผยแพร่คริสต์ศาสนา ได้แก่ ระยะของการสร้างความสัมพันธ์ ระยะของการเริ่มสอดแทรก ระยะของการเผยแพร่คริสต์ศาสนาแบบเป็นระบบ 1.3 กลยุทธ์ด้านของสื่อ ได้แก่ สื่อบูรณาการ คือ สื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจ ในด้านของผู้รับสาร ได้แก่ วิเคราะห์และกระบวนการคัดเลือกสรรของผู้รับสาร 2. ผลจากการเผยแพร่คริสต์ศาสนาของคริสตจักรพระพรเชียงใหม่ของกลุ่มผู้ที่ยังไม่รับเชื่อ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1.องค์ประกอบของการรับรู้ ประกอบด้วย การใส่ใจ ได้แก่ ภาวะของผู้รับรู้ ความต้องการ แรงจูงใจ ความคาดหวัง กลุ่มผู้ปกครองและกลุ่มเด็กและวัยรุ่นมีผลที่เหมือนกัน ได้แก่ กิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีและภาษาต่างประเทศ 2. แนวคิดในด้านความรู้ กลุ่มผู้ปกครองจะเป็นลักษณะของการระลึกได้ คือ กิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีและภาษาต่างประเทศ กลุ่มเด็กและวัยรุ่น สามารถรับรู้เนื้อหาเรื่องราวคริสต์ศาสนาที่สอดคล้องกับเนื้อหาในด้านบทบัญญัติ 10 ประการผ่านการทำกิจกรรมในด้านของความรู้ อยู่ 3 ระดับ ได้แก่ 1.ระดับที่ระลึกได้ 2.ระดับที่รวบรวมสาระสำคัญได้3.ระดับของการนำไปใช้ และแนวคิดในด้านทัศนคติ ในระดับของการเปลี่ยนแปลงความรู้สึก 2.1 ผลจากการเผยแพร่คริสต์ศาสนาของคริสตจักรพระพรเชียงใหม่กลุ่มผู้ที่ยังไม่รับเชื่อผ่านกระบวนการรับเชื่อ การรับรู้ผ่านทางเนื้อหาและการรับรู้ในด้านของการเข้ามาร่วมทำกิจกรรมต่างๆกับศูนย์บ้านปันพรที่มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างในลักษณะของกระบวนการเชื่อ คือ ขั้นตอนในการเข้าสู่กระบวนการที่รับรู้ถึงเนื้อหาในด้านคริสต์ศาสนาโดยผ่านการทำกิจกรรมต่างๆของศูนย์บ้านปันพรและการสอดแทรกเนื้อหาบทบัญญัติ 10 ประการในกิจกรรมต่างๆโดยจะมีอยู่ทั้งหมด 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การรับรู้ถึงพระเจ้าของทางคริสต์ศาสนาผ่านกิจกรรมต่างๆ 2.การรับเชื่อในเชิงปฏิบัติตามคำสอน 3.การเข้าสู่พิธีกรรมทางคริสต์ศาสนา โดยผลของกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยได้ผลดังต่อไปนี้ กลุ่มผู้ปกครองจำนวนทั้งหมด 10 คนไม่มีผู้ที่ได้รับเชื่อรวมถึงสามารถจดจำในเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับคริสต์ศาสนาได้เป็นเพียงแต่การสามารถจดจำลักษณะในด้านของการทำกิจกรรมร่วมกับศูนย์บ้านปันพรเท่านั้น ผลกระบวนการรับเชื่อจึงอยู่ในระดับการรับเชื่อที่ 1 คือ การรับรู้ถึงพระเจ้าของทางคริสต์ศาสนาผ่านกิจกรรมต่างๆ กลุ่มเด็กและวัยรุ่นจำนวนทั้งหมด 10 คนนั้นมีแนวโน้มในการรับเชื่อจำนวน 9 คน โดยมีแนวโน้มในการรับเชื่อ มีระดับในกระบวนการเชื่ออยู่ 2 ระดับ ได้แก่ การรับรู้ถึงพระเจ้าของทางคริสต์ศาสนาผ่านกิจกรรมต่างๆ และ การรับเชื่อในเชิงปฏิบัติตามคำสอน และมีผู้รับเชื่อจำนวน 1 คน ได้แก่ นางสาวกรรณิการ์ พรานมูล อายุ 15 ปี ชื่อเล่น บีม นักเรียนโรงเรียนสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีระดับในกระบวนการเชื่อทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ การรับรู้ถึงพระเจ้าของทางคริสต์ศาสนาผ่านกิจกรรมต่างๆ การรับเชื่อในเชิงปฏิบัติตามคำสอนและการเข้าสู่พิธีกรรมทางคริสต์ศาสนาen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT184.08 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX910.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1221.65 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2449.55 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3201.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 41.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5443.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT254.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER515.73 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE189.69 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.