Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39825
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทริยา สาเอี่ยม | - |
dc.contributor.author | จตุรพร พรมเสนวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T14:25:07Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T14:25:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39825 | - |
dc.description.abstract | This thesis, “Plants in Thai Idioms: A Semantic Analysis,” aimed to examine source domains and target domains of plants that were quoted in Thai idioms. In this connection, Semantic Structure Analysis (SSA), and the concepts of parts of speech and lexical semantic process were applied. Information regarding Thai idioms and its meaning was derived from the book “Thai Idioms” by Kanchanakhaphan. From the study, 81 idioms quoting plants, in which included 29 different types, were found. The plants were distinguished into 5 categories, namely trees, herbaceous plants, shrubs, climbers and others. Two characteristics of source domains of plants that appeared in Thai idioms were identified: 1) source domains that contained only denotative meaning of plants and, 2) sources domains that contained both denotative and connotative meaning of plants. The source domains of the quoted plants were originated via two means: 1) the observation of their own natural characteristics, namely forms, movements, colors, sizes, weights, tastes, ages, locations, amounts, natural conditions and functional conditions; and, 2) the utilization by human beings and animals, namely plants as food, plants as everyday tools, plants as commodity, plants in spiritual and religious belief, cultivation, and plants that were affected by human beings and animals. It was found that the target domains of the plants quoted in Thai idioms emerged underlexical semantic processes, namely metaphorical process and metonymic process, which altered the source domains of the plants quoted in Thai idioms allegorically.The target domains of the plants quoted in Thai idioms were categorized into 2 characteristics: 1) the allegorical meaning ofconditions, namely color aspects, human conditions,mental conditions and numerical aspects; and, 2) the allegorical meaning of human actions, namely speaking, human relationship, human functions, as well as actions related to religions and rituals.It was also found that the target domains of the plants quoted in Thai idioms were derived from: 1) only denotative meaning of the source domains, and 2) both denotative and connotative meaning of the source domains. Additionally, there were 3lexical semantic processes that resulted in the target domains of the plants quoted in Thai idioms: 1) the target domains of the plants quoted in Thai idioms that emerged under a metaphorical process only; 2) the target domains of the plants quoted in Thai idioms that emerged under a metonymic process only; and, 3) the target domains of the plants quoted in Thai idioms that emerged under both metaphorical and metonymic processes. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พืช | en_US |
dc.subject | สำนวนไทย | en_US |
dc.subject | อรรถศาสตร์ | en_US |
dc.title | พืชในสำนวนไทย: การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Plants in Thai idioms: a semantic analysis | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 401.43 | - |
thailis.controlvocab.thash | อรรถศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษาไทย -- สำนวนโวหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษาไทย -- การใช้ภาษา | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 401.43 จ144พ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์เรื่อง “พืชในสำนวนไทย: การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความหมายต้นทางและความหมายปลายทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทย โดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์องค์ประกอบความหมาย แนวคิดส่วนประกอบของคำ และแนวคิดกระบวนการทางความหมาย ข้อมูลสำนวนไทยและความหมายของสำนวนไทยนำมาจากหนังสือสำนวนไทย ของกาญจนาคพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่าสำนวนไทยที่กล่าวถึงพืชมีทั้งหมด 81 สำนวนและมีพืชทั้งหมด 29 ชนิด แบ่งตามประเภทของพืชได้ 5 ประเภท ได้แก่ พืชประเภทไม้ยืนต้น พืชประเภทไม้ล้มลุก พืชประเภทไม้พุ่ม พืชประเภทไม้เถา และคำเรียกพืชทั่วไป ความหมายต้นทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทยมีส่วนประกอบ 2 ลักษณะ คือ 1) ความหมายต้นทางของพืชมีเฉพาะความหมายแก่น และ 2) ความหมายต้นทางของพืชมีทั้งความหมายแก่นและความหมายแฝง ในส่วนของพืชที่นำมากล่าวถึงในความหมายต้นทางมีที่มา 2 แบบ คือ 1) การสังเกตลักษณะธรรมชาติ ได้แก่ รูปทรง การเคลื่อนที่ สี ขนาด น้ำหนัก รส อายุ ตำแหน่งที่อยู่ จำนวน สภาพธรรมชาติ และสภาพที่ให้ประโยชน์ และ 2) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการกระทำของคนและสัตว์ ได้แก่ การนำพืชมาเป็นอาหาร การนำพืชมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน การนำพืชมาเป็นสินค้า การนำพืชเข้ามาเกี่ยวข้องกับความเชื่อและศาสนา การปลูกพืช ตลอดจนพืชเป็นสิ่งที่ได้รับผลกระทบจากคนและสัตว์ ส่วนความหมายปลายทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทยเป็นความหมายที่เกิดจากการผ่านกระบวนการทางความหมาย ซึ่งได้แก่ กระบวนการอุปลักษณ์ และกระบวนการนามนัย ทำให้ ความหมายต้นทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทยเปลี่ยนแปลงไปเกิดความหมายเปรียบ ความหมายปลายทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทยมี 2 ลักษณะ คือ 1) ความหมายเปรียบถึงสภาพของสิ่งใด ได้แก่ สภาพสี สภาพของคน สภาพของจิตใจ และสภาพที่แสดงจำนวนของสิ่งใดๆ และ 2) ความหมายเปรียบถึงสิ่งที่มนุษย์กระทำขึ้น ได้แก่ การพูดของมนุษย์ ความสัมพันธ์ของมนุษย์ การทำงานของมนุษย์ รวมไปถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและพิธีกรรม นอกจากนี้ยังพบว่าความหมายปลายทางของพืชที่ปรากฏในสำนวนไทยมีทั้งที่มาจากความหมายแก่นในความหมายต้นทางเพียงอย่างเดียว และมาจากความหมายแก่นและความหมายแฝงในความหมายต้นทาง นอกจากนี้กระบวนการทางความหมายที่ทำให้เกิดความหมายปลายทางของพืชนั้น มี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ความหมายปลายทางของพืชที่พบในสำนวนไทยใช้กระบวนการอุปลักษณ์เพียงอย่างเดียว 2) ความหมายปลายทางของพืชที่พบในสำนวนไทยใช้กระบวนการนามนัยเพียงอย่างเดียว และ 3) ความหมายปลายทางของพืชที่พบในสำนวนไทยใช้ทั้งกระบวนการอุปลักษณ์และนามนัย | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 230.64 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 721.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 374.23 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 499.87 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 262.15 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 181.31 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 517.16 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 305.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.