Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39807
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิกุล นันทชัยพันธ์-
dc.contributor.advisorนัทธมน วุทธานนท์-
dc.contributor.authorวรัญญา มณีรัตน์en_US
dc.date.accessioned2016-12-12T13:44:43Z-
dc.date.available2016-12-12T13:44:43Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39807-
dc.description.abstractChronic heart failure is a major health problem worldwide. Patient self-management is very important in helping to slow down and reduce the severity of the disease and its complications. This systematic review of empirical evidence aimed to gather knowledge about how to promote self-management in patients with chronic heart failure. A systematic search was done to identify published and unpublished studies in Thai and English from 2006 to 2010. An Appraisal Form and Data Extract Form developed by Joanna Briggs Institute were used for this systematic review. Fourteen studies met the review criteria, 12 were randomized controlled trials and 2 were quasi-experimental studies. Narrative summarization was used to describe the characteristics of self-management promotion and determine its results. The findings revealed 4 types of interventions for self-management promotion in patients with chronic heart failure. These interventions included: 1) promotion of self-management through continuous monitoring; 2) exercise; 3) muscle relaxation techniques; and 4) home visits. These interventions varied in activities offered, frequency of contact, and program duration. Positive outcomes measured by these studies included reduced re-hospitalization rate, reduced length of hospital stay, reduced re-visits rates to the emergency department, reduced symptoms, and increased knowledge and self-management practice.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหลักฐานเชิงประจักษ์en_US
dc.subjectการปฏิบัติที่เป็นเลิศen_US
dc.subjectผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังen_US
dc.titleการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการปฏิบัติที่เป็นเลิศของการส่งเสริมการจัดการตนเองสำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeEvidence review on best practices of promoting self-management for chronic heart failure patientsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshEvidence -- based practice-
thailis.controlvocab.meshSelf -- management-
thailis.controlvocab.meshHeary failure -- treatment-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ว171ก 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญของระบบสุขภาพทั่วโลก การจัดการตนเองของผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยชะลอและลดความรุนแรงของโรคและภาวะแทรกซ้อน การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ทำการสืบค้นรายงานการศึกษาที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างเป็นระบบตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006–2010 มีรายงานการศึกษาที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเลือกจำนวน 14 เรื่อง เป็นการวิจัยทดลองที่มีการสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มจำนวน 12 เรื่อง และการวิจัยกึ่งทดลองจำนวน 2 เรื่อง วิเคราะห์สรุปลักษณะของวิธีการส่งเสริมการจัดการตนเองและผลที่ได้โดยวิธีการสรุปเนื้อหาแบบพรรณนาความ ผลการทบทวนพบว่ามีรูปแบบของวิธีการส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งหมด 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) การส่งเสริมการจัดการตนเองโดยการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2) โปรแกรมการออกกำลังกาย 3) การใช้เทคนิคผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และ 4) การเยี่ยมบ้าน โดยที่วิธีการดังกล่าวนี้ใช้วิธีการที่หลากหลายในแง่ลักษณะกิจกรรม ความถี่ของการติดตาม และระยะเวลาที่ดำเนินการ มีการวัดผลลัพธ์ที่แตกต่างกันไปในแต่ละการศึกษา ได้แก่ การลดอัตราการกลับเข้ามานอนโรงพยาบาล การลดระยะเวลานอนโรงพยาบาล ลดอัตราการมาใช้บริการซ้ำที่แผนกฉุกเฉิน การลดอาการ และ การเพิ่มความรู้และการปฏิบัติตัว   ผลการทบทวนครั้งนี้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการส่งเสริมการจัดการตนเองที่มีประสิทธิผลที่ดีที่สามารถนำไปใช้โดยพยาบาลและทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ของบริการในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง การวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาซ้ำเพื่อยืนยันผลลัพธ์ของแต่ละวิธีการให้มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT240.82 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX385.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1323.39 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2405.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3262.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4505.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5242.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT361.92 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf649.35 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE304.58 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.