Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39794
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มยุลี สำราญญาติ | - |
dc.contributor.author | วราภรณ์ ศรีจันทร์พาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T13:12:39Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T13:12:39Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39794 | - |
dc.description.abstract | The families of critically ill patients who are admitted into an Intensive Care Unit need more support and caring from critical care team. This integrative review aimed to summarize empirical research evidence related to the method of supporting families of critically ill patients. The review was done via searching and screening of research included published and unpublished studies in Thai and English language from 2004 to 2013. These research studies were evaluated using a Critical Appraisal Form for experimental research and data were extracted using a Data Extraction Form, both of which were developed by the Joanna Briggs Institute [JBI] for Evidence Based Nursing and Midwifery. Findings revealed that there were 12 studies in total. Three of them were experimental research studies and 9 were quasi-experimental studies. Conclusion of the review result was performed using content summarized method to explain supporting families of critically ill patients. There were 5 effective methods for supporting families, including supporting based on families need, family support coordinator, communication for decision making, family conference using communication strategy and nurse-led intervention for decision making. Effectiveness of supporting families’ outcomes composed of improved process of supporting families; increased satisfaction, adjustment, and effectiveness of decision making; decreased anxiety, stress, post-traumatic stress disorder [PTSD], depression, and conflict in decision making. Findings from this integrative review can be used as recommendations for the development of clinical practice guidelines for supporting families of critically ill patients. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
dc.subject | หลักฐานเชิงประจักษ์ | en_US |
dc.title | การสนับสนุนครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤต: การทบทวน หลักฐานเชิงประจักษ์ | en_US |
dc.title.alternative | Supporting families of critically ILL : integrative review | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.nlmc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Critical illness | - |
thailis.controlvocab.mesh | Evidence -- based nursing | - |
thailis.manuscript.callnumber | W 4 ว172ก 2557 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤตที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤต มีความต้องการการดูแลและการสนับสนุนมากขึ้นจากทีมหอผู้ป่วยวิกฤต การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีอยู่เกี่ยวกับวิธีการสนับสนุนครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤต การศึกษาทบทวนครั้งนี้กระทำโดยการสืบค้นและคัดเลือกการศึกษาวิจัยที่มีการเผยแพร่และไม่เผยแพร่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2556 ประเมินคุณค่าการวิจัยโดยใช้แบบประเมินคุณค่างานวิจัยเชิงทดลอง และสกัดข้อมูลโดยใช้แบบสกัดข้อมูล ซึ่งทั้งสองแบบประเมินพัฒนาโดยสถาบันโจแอนนา บริกส์ (Joanna Briggs Institute [JBI]) สำหรับหลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ ผลการทบทวนพบงานวิจัยจำนวน 12 เรื่อง เป็นการศึกษาเชิงทดลองจำนวน 3 เรื่อง และการศึกษาแบบกึ่งทดลองจำนวน 9 เรื่อง การสรุปผลการทบทวนใช้วิธีสรุปเนื้อหาเพื่อบรรยายวิธีการสนับสนุนครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤต มีวิธีการสนับสนุนที่มีประสิทธิผล 5 วิธี คือ การสนับสนุนตามความต้องการของครอบครัวเป็นพื้นฐาน การใช้ผู้ประสานงานสนับสนุนครอบครัว การสื่อสารเพื่อการตัดสินใจ การประชุมกลุ่มโดยใช้กลยุทธ์ในการสื่อสาร และการปฏิบัติเพื่อการตัดสินใจโดยพยาบาลเป็นผู้นำ ผลลัพธ์ของการสนับสนุนครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤตที่มีประสิทธิผลประกอบด้วย กระบวนการสนับสนุนครอบครัวดีขึ้น ความพึงพอใจ การปรับตัว และประสิทธิภาพการตัดสินใจเพิ่มขึ้น ความวิตกกังวล ภาวะเครียด ภาวะเครียดผิดปกติภายหลังได้รับภยันตราย ภาวะซึมเศร้า และความขัดแย้งในการตัดสินใจลดลง ผลการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ครั้งนี้ สามารถนำไปเป็นข้อเสนอแนะในการสร้างแนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อสนับสนุนครอบครัวของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤต | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 163.3 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 761.57 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 221.45 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 342.22 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 176.54 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 449.81 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 148.22 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 136.18 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 584.21 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 213.71 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.