Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39765
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรณพ พงษ์วาท | - |
dc.contributor.advisor | ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ปัญญชาติ วงษ์ปัญญา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T10:46:59Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T10:46:59Z | - |
dc.date.issued | 2557-12 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39765 | - |
dc.description.abstract | Chiang Mai Technical College started in the 2013 academic year one undergraduate program in Automotive Technologies after decades of pre-2nd sub-degree provision experiences, i.e., vocational certificate program. And although their Self-Assessment Report (SAR) undertaken in 2013 indicates in the overall sense that the college has successfully met all major requirements set by the Higher Education Commission, Ministry of Education, this and the above experiences do not automatically mean the college is now fully or adequately ready to become a full-fledged institution of higher education. Upon closer scrutiny, it was found that certain indicators of certain major requirements did not pass the rather stringent evaluation criteria. And those which did not make it happen to be those considered instrumental components of an institution of higher education. They are for instance, research, student affairs, personnel administration, faculty academic publication, and general academic atmosphere on campus, etc. These and other components-cum-indicators need to be taken seriously by all involved, especially College and Vocational Education Institution administrators if they wish to see the quality, at the higher education level, of the newly launched Automotive Technologies Program as well as others to come in the future, and of its maturation. In addition, another equally, if not more, important component more likely to determine the future course of the college-turned university, has to do with the mentality of the Program instructors. They and their colleagues have long been vocational or craft teachers teaching sub-and/or pre-degree vocational students. But now, some of them are teaching University-level, degree students. Therefore, their experiences and current mentality will have to be adjusted and adapted to suit the present classroom and College reality. At the same time, the campus academic atmosphere, typical of any full-fledged institutions of higher educations, must of necessity be created to both supplement and enrich the quality growth, of Chiang Mai Technical College as an institution of higher education in the near future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | วิทยาลัยเทคนิค | en_US |
dc.subject | สถาบันการอาชีวศึกษา | en_US |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา | en_US |
dc.title | จากวิทยาลัยเทคนิคสู่สถาบันการอาชีวศึกษา : ความพร้อมในการเป็นสถาบันอุดมศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | From technical college to vocational education institute : Chiang Mai Technical College's readiness to become a higher education institution | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 370.113 | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | อาชีวศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สถาบันอุดมศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 370.113 ป113จ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ได้ทำการเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2556 ในสาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์(เทคโนโลยีสายปฏิบัติการ) หลังจากที่ได้จัดการเรียนการสอนในระดับก่อน (และอนุ)ปริญญา(ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ ปวช. และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือ ปวส.) มาเป็นระยะเวลานาน และถึงแม้ว่า ผลการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของมาตรฐานการอุดมศึกษา จะบ่งชี้ว่า ในภาพรวมวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ มีความพร้อมในการเป็นสถาบันอุดมศึกษาแล้วก็ตาม ข้อเท็จจริงดังกล่าว ก็ไม่ได้หมายความว่า ความพร้อมดังกล่าว พอเพียง สมบูรณ์แบบ เช่นเดียวกับ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสายปฏิบัติการแบบเดียวกันกับที่เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญามานานแล้ว เพราะเมื่อพิจารณารายละเอียดของการประเมินฯ จะพบว่า องค์ประกอบที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ดี ก็ยังมีอยู่หลายๆตัว ไม่ว่าจะเป็นด้านการวิจัย ด้านการบริหารจัดการ ด้านกิจการนักศึกษา ด้านบรรยากาศทางวิชาการ ฯลฯ แน่นอนว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคงจะต้องร่วมกันหาทางปรับปรุงพัฒนากันต่อไปในอนาคต หากวิทยาลัยเทคนิคและสถาบันการอาชีวศึกษา มุ่งหวังที่จะเห็นคุณภาพของทั้งสาขาวิชาที่เปิดสอน ณ วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ตลอดจนสาขาวิชาอื่นๆ เป็นที่ยอมรับกันว่า ควรค่าแก่การเป็นการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็นปริญญาด้านเทคโนโลยีสายปฏิบัติการก็ตาม ประเด็นที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าความพร้อมที่มีตามเกณฑ์การประเมินฯ และที่น่าจะเป็นตัวกำหนดความเป็นอุดมศึกษาที่ดีในอนาคตของวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ก็คือ วิธีคิดและเจตคติของอาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์ (และสาขาวิชาอื่นๆในอนาคต) ความเป็น ”ครูช่าง”มานาน แม้อาจจะเหมาะสม พอเพียงกับการสอนผู้เรียนระดับ ปวช. หรือ ปวส. ก็ตาม คงไม่น่าจะเหมาะสม พอเพียงกับการสอนผู้เรียนในระดับอุดมศึกษาอีกต่อไป ทั้งผู้บริหารของวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่และอาจารย์ คงจะต้องร่วมกันหาทางสำรวจตรวจสอบและพัฒนาวิธีคิดและเจตคติของอาจารย์ ตลอดจนร่วมกันสร้างบรรยากาศทางวิชาการเพื่อเอื้อต่อการที่วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่และต่อไปวิทยาลัยอื่นๆของสถาบันการอาชีวศึกษา ที่ต้องเปิดหลักสูตรเทคโนโลยีสายปฏิบัติการอื่นๆ(ระดับปริญญาตรี) จะสามารถทำหน้าที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ดี มีคุณภาพและ มีศักดิ์ศรีต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 175.52 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 320.2 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.