Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39701
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorวัชชารมย์ เชื้อเมืองพานen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T08:16:00Z-
dc.date.available2016-12-08T08:16:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39701-
dc.description.abstractThis research is aimed to study income structure of local administrative organizations’ revenue and study suitability of the income structure of local administrative organizations in Amphur Samoeng from Budget Year 2009 to 2012, as the qualitative research. Data was collected using an interview form to 20 main respondents. And analysis of data is a kind of descriptive analysis. The study result reveals that the income structure of local administrative organizations in Samoeng District, Chiang Mai Province collected locally was in a very small portion. Even they tried to collect tax fully but there was no enough source of income to be collected. Most of incomes were from the tax collected and appropriated by the government, tending to increase. By the way, the portion of income that the government supported in general to support decentralization to the local administrative organizations to perform their duties as defined by the laws in each form, which the local administrative organizations could spend for program/ activities set by themselves, was reduced year by year, while the portion of support in general according to the missions of transfer with specific purpose of spending was increased, some of which does not conform to the actual situation. As the result, the local administrative organization had to contribute their income to conform to the government policy. So, their budget was not enough to develop their areas and solve problems of people in the areas. For applying the basis of proportional appropriation by percentage of population, villages which was appropriated equally, it is found that the population from the civil registration database was lower than the actual population in the area. And in the areas, there were also latent population which the local administrative organizations had to assume responsibility for provision of public services to respond the needs of the actual population in the area. As the result, they had budget not enough to develop their areas and cover problems of people in the area. The research result brings about recommendations on appropriation of supports as follows: The basis for appropriation of funds in general should be considered on missions of expenditures of the local administrative organizations divided into 3 parts: Part 1: Appropriate the fund to the local administrations in the same amount as the previous year; Part 2: Appropriate the fund to the local administrations with potential to provide public services; and Part 3: Appropriate the fund to the local administrations with low income from collecting by themselves and no source of income in the area. On budget planning and spending, the survey of needs and necessary and urgent problems should be made regularly in order to plan for spending and carrying out projects/ activities clearly, solve the problems of people in the area comprehensively and pertinently, and to be able to improve/ adjust the budget spending plan to maximize benefit and operate all projects/ activities set in the annual budget.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรายได้en_US
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.titleการวิเคราะห์โครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAnalysis of local administrative organizations' revenue structure in Amphur Samoeng, Changwat Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc339.3-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- รายได้-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashรายได้-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 339.3 ว112ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ เพื่อศึกษาโครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและศึกษาความเหมาะสมของโครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอสะเมิง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2555 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลหลัก 20 คน ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ที่จัดเก็บเองมีสัดส่วนน้อยมาก แม้จะมีความพยายามในการจัดเก็บภาษีอย่างเต็มที่แต่ในพื้นที่ไม่มีแหล่งรายได้พอที่จะจัดเก็บได้ รายได้ส่วนใหญ่มาจากภาษีที่รัฐจัดเก็บและจัดสรรให้ มีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ รายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนประเภทเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อสนับสนุนการกระจายอำนาจให้แก่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายจัดตั้งแต่ละรูปแบบกำหนดไว้ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถนำไปจัดทำรายการโครงการ/กิจกรรมได้เองมีสัดส่วนลดลงทุกปี ส่วนเงินอุดหนุนทั่วไปตามภารกิจถ่ายโอนที่กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้จ่ายจะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ภารกิจบางรายการที่จัดสรรไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องนำรายได้ของตนเองสมทบ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ทำให้ขาดรายได้ไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นเป็นผลทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเงินงบประมาณจำกัด ไม่เพียงพอที่จะนำไปใช้จ่ายแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน การใช้หลักเกณฑ์การจัดสรรกำหนดสัดส่วนร้อยละตามจำนวนประชากร จำนวนหมู่บ้านซึ่งแบ่งเท่ากันทุกแห่ง พบว่า การยึดเกณฑ์จำนวนประชากรจากข้อมูลฐานทะเบียนราษฎรมีจำนวนประชากรต่ำกว่าที่มีอยู่จริงในพื้นที่และในพื้นที่ยังมีจำนวนประชากรแฝงอาศัยอยู่ ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับภาระในการจัดบริการสาธารณะตอบสนองความต้องการของประชากรที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ ทำให้ขาดรายได้ไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น ไม่เพียงพอที่จะนำไปใช้จ่ายแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ครอบคลุม ผลการศึกษาครั้งนี้นำมาซึ่งข้อเสนอแนะ ด้านการจัดสรรเงินอุดหนุน หลักเกณฑ์ในการจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปควรคำนึงถึงภารกิจการใช้จ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยแบ่งเกณฑ์เป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 จัดสรรเงินให้แก่องค์กรปกครองเท่ากับปีที่ผ่านมา ส่วนที่ 2 ให้จัดสรรแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพในการจัดบริการสาธารณะ ส่วนที่ 3 จัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายจัดเก็บเองได้น้อยและไม่มีแหล่งรายได้ในพื้นที่ ด้านวางแผนและการใช้จ่ายงบประมาณ ควรมีการสำรวจความต้องการหรือความเดือดร้อนจำเป็นเร่งด่วนในพื้นที่อยู่เสมออย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะสามารถวางแผนการใช้จ่ายเงินและดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ชัดเจน แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ได้ครอบคลุม ตรงประเด็น สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแผนการใช้จ่ายเงินได้เกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถดำเนินการโครงการ/กิจกรรมทุกรายการที่จัดทำเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT261.07 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX23.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1253.54 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2460.76 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3179.35 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4473.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5760.53 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 6.pdf CHAPTER 6186.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT271.34 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER658.42 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE333.69 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.