Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ดร.รัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุภาพร ชินชัย-
dc.contributor.authorเอื้องทิพย์ ใจอ้ายen_US
dc.date.accessioned2016-10-05T10:06:38Z-
dc.date.available2016-10-05T10:06:38Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39625-
dc.description.abstractThe independent study was aimed to examine needs in transition support of leading inclusive schools under Chiang Mai Education Service Area Office 1-6 and Secondary Educational ServiceArea Office 34 (Chiang Mai– Mae Hong Son). Samples were 14 chief teachers from selected schools. The research instruments were a questionnaire and a structured interview form. Data were collected in academic year 2014. Data were analyzed by using mean, percentage, and description. The results were found that teachers were important to drive the transition system. Knowledge and experiences brought them to transition management skills.The ability to brought policy from original affiliation to be successful was depended on school’s policies and practices. The needs in transition support included 1) supervision, monitoring and advice to help teachers perform the appropriate ways, and 2) budget to support for different projects such as adjust physical environment, career preparing projects and training teachers about transition system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความต้องการความช่วยเหลือในการส่งต่อของ โรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeNeeds in Transition Support of Leading Inclusive Schools in Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการความช่วยเหลือ ในการส่งต่อของโรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วม จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้เป็นครูหัวหน้างานเรียนร่วมในโรงเรียนแกนนำการจัดการเรียนร่วมที่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1 - 6 และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่ - แม่ฮ่องสอน) รวมเป็น 14 โรง เครื่องมือที่ใช้ในประกอบด้วยแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผู้ศึกษาได้ดำเนินการเก็บข้อมูลในปีการศึกษา 2557 แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติพื้นฐานค่าเฉลี่ยและร้อยละ แล้วเขียนสรุปบรรยายเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการได้อบรมให้ความรู้ เรื่องขั้นตอนการส่งต่อกับครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อนำไปสู่แนวทางปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งส่งต่อในสถานศึกษาเดียวกัน และต่างสถานศึกษา ต้องการให้มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และให้คำปรึกษาการปฏิบัติงาน ด้านการส่งต่อในโรงเรียนแกนนำ การจัดการเรียนร่วมให้เป็นไปตามกฎหมาย และต้องการงบประมาณสนับสนุนในด้านที่เกี่ยวข้องกับการส่งต่อ ได้แก่ ด้านการปรับสภาพแวดล้อม ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับนักเรียนในชั้นเรียนร่วม โครงการสนับสนุนด้านการเตรียมอาชีพและการฝึกอบรมครูen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)173.69 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract185.14 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS5.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.