Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39615
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | วรรณิศา วงศ์ษยา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-10-04T09:38:59Z | - |
dc.date.available | 2016-10-04T09:38:59Z | - |
dc.date.issued | 2015-04 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39615 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent study to Study the operating, problem and solutions of Learning Development Administration and Management to ASEAN Commission of School in Mae Hong Son Province Under the Secondary Educational Service Area 34. The data were collected from the school administrators, the deputy head master, the teacher was responsible for learning Development of ASEAN and representatives of organizations both government sector and private sector all total 104 samples. The tool for collecting data was questionnaire guideline learning development of ASEAN in the school include 4 administrations: the management administration, the learning management, the activities of school and community relation activites. The data was analyzed by using frequencies, percentage, arithmetic mean and standard deviation. And presented by the table with description. The results revealed that has practical level realistic overall at a high level, when considering the list as found that 3 sort at high level to Arrange from high level to Low level were the management administration, the learning management activities of the school and the community relation activities at medium. The problem found that is budget and resources are insufficient, the personnel lack of communication skill in English, the activities with ASEAN is minimal, the operating are ongoing, to Lack of supervision, monitoring and evaluation, the joint activity between the school and community is still minimal and also lack of publicity. The solution include: Secondary Educational Service Area 34 should allocate budget for the operating of the school adequately and should provide workshops on the using of English for communication for school administrators, the teachers and personnel continually. The activities of the ASEAN community in school should be integrated with the curriculum of the 8 department. The joint activity between the school and community should be appropriately format for the community to Participate in it. Including to the various promotion and promote thoroughly. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารจัดการพัฒนาการเรียนรู้ สู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 | en_US |
dc.title.alternative | Operating of Learning Development Administration and Management to ASEAN Commission of School in Mae Hong Son Province Under the Secondary Educational Service Area 34 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและแนวทางแก้ไขของคณะกรรมการบริหารจัดการพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 โดยเก็บข้อมูลจากผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนและผู้แทนจากหน่วยงานองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวน 104 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม ตามแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนในสถานศึกษาทั้งระบบประกอบด้วย การบริหาร 4 ด้าน คือ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาและการจัดกิจกรรมสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย สรุปผลการดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารจัดการพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 พบว่า มีระดับปฏิบัติ/เป็นจริงโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา และอยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน คือ ด้านการจัดกิจกรรมสัมพันธ์ ปัญหาที่พบเป็นปัญหาด้านงบประมาณและทรัพยากรในการดำเนินงานไม่เพียงพอ บุคลากรขาดทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนมีน้อย การดำเนินงานยังไม่ต่อเนื่อง ขาดการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ส่วนการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชนยังมีไม่มาก นอกจากนี้ยังขาดการประชาสัมพันธ์ แนวทางแก้ไข ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ควรจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้แก่สถานศึกษาอย่างเพียงพอ และควรจัดให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในสถานศึกษาควรเป็นแบบบูรณาการร่วมกันกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนกิจกรรมที่จัดร่วมกับชุมชนควรมีรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ตลอดจนมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลายและทั่วถึง | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract | 176.47 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 183.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.91 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.