Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. รัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.authorณัฐณิชา กองจันทร์en_US
dc.date.accessioned2016-09-30T09:57:50Z-
dc.date.available2016-09-30T09:57:50Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39612-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to examine the effect of using positive reinforcement technique to develop skin care skills of a student with cerebral palsy. The case study was a 21- year old girl, studying in the first semester of 2013 academic year at Srisangwan Chiangmai School. The instruments of this study consisted of 1) a behavioral observation form with three stages, 2) skin care skills plans, 3) individual education plans, 4) positive reinforcement observation form , 5) positive reinforcement record, 6) self evaluation form, and 7) skin care skills evaluation form. The data were analyzed by using percentage which were later on compared with pre-post skin care skill assessments, presented by table and graphs with descriptive explanation and statistical tables with descriptive explanation. The findings revealed that after using positive reinforcement technique, the case study’s skin care skills were increased from 46.66 to 86.21 percent. Each skill was increased as follows; sorting clothes skill increased from 41.66 to 84.89 % drying self after a bath skill from 46.66 to 84.99 %, choosing clothes skill higher from 51.66 to 86.66 % and treating self from 46.66 to 88.33 % .en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวกเพื่อพัฒนา ทักษะการดูแลผิวของนักเรียนสมองพิการen_US
dc.title.alternativeUsing Positive Reinforcement Technique to Develop Skin Care Skills of a Student with Cerebral Palsyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิค การเสริมแรงทางบวกในการพัฒนาทักษะการดูแลผิวของนักเรียนสมองพิการ กรณีศึกษา ในครั้งนี้ เป็นนักเรียนสมองพิการ เพศหญิง อายุ 21 ปี ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรม ซึ่งใช้ 3 ระยะ 2) แผนการสอนทักษะการดูแลสุขภาพผิว 3) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล 4) แบบสำรวจตัวเสริมแรงทางบวก 5) แบบบันทึก การให้แรงเสริม 6) แบบประเมินสุขภาพด้วยตนเอง 7) แบบประเมินทักษะการดูแลสุขภาพผิว โดยผู้ศึกษาใช้เวลาในการสังเกต และบันทึกวีดีทัศน์ รวม 5 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ นำเสนอผลการศึกษา โดยใช้ตารางแสดงค่าร้อยละเปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกทักษะการดูแลผิว และใช้ตารางแผนสถิติประกอบความเรียงเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า กรณีศึกษามีการพัฒนาทักษะการดูแลผิวหลังการใช้แรงเสริมเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 46.66 เป็นร้อยละ 86.21 พฤติกรรมที่พัฒนาดีขึ้น คือ การพัฒนาทักษะการดูแลผิว 4 ทักษะ ประกอบด้วย ทักษะการคัดแยกเสื้อผ้า จากร้อยละ 41.66 เป็นร้อยละ 84.89 ทักษะการเช็ดตัวหลังอาบน้ำ ร้อยละ 46.66 เป็นร้อยละ 84.99 ทักษะการเลือกเสื้อผ้า ร้อยละ 51.66 เป็นร้อยละ 86.66 ทักษะการรับการรักษาร้อยละ 46.66 เป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.33en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)175.51 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract273 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS8.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.