Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39603
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ทรียาพรรณ สุภามณี | - |
dc.contributor.author | บรรจงจิต จันทร์นวล | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-09-28T09:23:02Z | - |
dc.date.available | 2016-09-28T09:23:02Z | - |
dc.date.issued | 2015-07 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39603 | - |
dc.description.abstract | Ineffective handoff communication between units will lead to medical errors and adverse events in an emergency unit. Thus, it is imperative for enhancing the quality of the handoff process between emergency units. This developmental study aimed to improve the communication process of the patient transfer from an emergency unit to an inpatient ward of Pai hospital, Mae Hong Son Province. Study methodology was guided by the FOCUS PDCA quality improvement process (Deming, 1993) which consisted of nine steps: identify a process that needs to be improved; organize a team that knows the process; clarify the current process; understand causes of variation in the process; select the processes that require improvement; plan for improvement; implement the plan; check for practice process; and act to maintain and continue the improvement. The study sample included 7 registered nurses. The research instruments included interview guidelines and the handoff communication observation checklist. Data were analyzed by using descriptive statistics. Results showed that after using the FOCUS-PDCA process, mnemonic SBAR (Situation, Background, Assessment, Recommendation) to improve the quality of communication between units, all registered nurses could comply with the handoff protocol and send patients’ information completely and correctly. As a result, the quality of the handoff process from the Emergency Unit to the Inpatient Ward improved. Nurses were satisfied with the improvement of the nursing handoff process and required to improve some problems that were found in the process. The problems included: 1) information transfer between nurses within the Emergency Unit was not effective which resulted in handoff communication delay, and 2) the recipient did not pay attention during the sending nurse’s patient status report. The results of this study showed that the use of the FOCUS PDCA process and SBAR technique are effective and useful to improve the handoff process between units. Nursing administrators can use these methods to improve the quality of communication of units and departments within and outside of hospitals. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาคุณภาพการสื่อสารสำหรับการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย จากหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินไปหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Communication Quality Improvement for Patient Transfer from an Emergency Unit to an Inpatient Ward, Pai Hospital, Mae Hong Son Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การสื่อสารเพื่อการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่ไม่มีประสิทธิผลอาจส่งผลให้เกิดความผิดพลาดในการให้ยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้เกิดคุณภาพในกระบวนการของการสื่อสารสำหรับการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินไปหน่วยงานอื่น การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการสื่อสารเพื่อการส่งต่อผู้ป่วยจากหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินไปหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน วิธีดำเนินการศึกษานี้อาศัยกระบวนการปรับปรุงคุณภาพโฟกัสพีดีซีเอ (Deming, 1993) ซึ่งประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ได้แก่ค้นหากระบวนการในการปรับปรุงคุณภาพ สร้างทีมงานที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ ทำความเข้าใจกระบวนการที่จะปรับปรุง ทำความเข้าใจ ถึงสาเหตุของความแปรปรวนในกระบวนการ เลือกวิธีการปรับปรุงกระบวนการ วางแผนในการปรับปรุง การนำไปปฏิบัติ ตรวจสอบการปฏิบัติ และดำเนินการและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง กลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้คือ พยาบาลจำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม และแบบสังเกตการสื่อสารในเวลาที่มีการส่งต่อผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การใช้กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอและอักษรช่วยจำที่ชื่อเอสบาร์ ซึ่งย่อมาจากสถานการณ์ ภูมิหลัง การประเมินและข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาคุณภาพการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน ทำให้พยาบาลทุกคนสามารถปฏิบัติตามแนวทางในการส่งข้อมูลและส่งข้อมูลผู้ป่วยได้สมบูรณ์ครบถ้วน ซึ่งส่งผลให้การสื่อสารระหว่างหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินและหอผู้ป่วยในมีคุณภาพดีขึ้น พยาบาลมีความพึงพอใจในการปรับปรุงกระบวนการสื่อสารข้อมูลระหว่างหน่วยงานและมีความต้องการให้แก้ปัญหาที่ยังเกิดขึ้นในกระบวน ได้แก่ 1) การส่งข้อมูลระหว่างกันของพยาบาลในหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินไม่มีประสิทธิผลทำให้การส่งข้อมูลผู้ป่วยไปหน่วยงานอื่นมีความล่าช้า และ 2) ผู้รับข้อมูลไม่ใส่ใจรับฟังข้อมูลจากผู้ส่งข้อมูล การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การใช้กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอและเทคนิคเอสบาร์ มีประสิทธิผลและเป็นประโยชน์ในการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำแนวทางดังกล่าวไปปรับปรุงคุณภาพการสื่อสารระหว่างหน่วยงานและแผนกภายในและภายนอกโรงพยาบาล | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 171.98 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 164.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.