Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39580
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ธานี แก้วธรรมานุกูล-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. กัลยาณี ตันตรานนท์-
dc.contributor.authorวริษฐา ปิยะพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2016-09-28T07:23:04Z-
dc.date.available2016-09-28T07:23:04Z-
dc.date.issued2557-12-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39580-
dc.description.abstractTraffic policeofficers are at high risk of occupational illnesses and injuries.This descriptive study aimed to examine the health status related to risk at work among 175 traffic police officers in theChiang Mai Provincial Police Traffic Sector. Data were collected during April to June 2014using a health status related to risk at workquestionnaire. The questionnaire was reviewed bya panel of expertsand received a content validityindexof 1.The reliabilityof the questionnaire was also tested and yielded an acceptable value (.83-.93). Hearing capacity and lung capacity were also tested. Data analysis was performed using descriptive statistics. The major results indicated that the most important illness related to work during the past month included neck/shoulder/upper back pain (73.14%)and lower back/trunk/hip/thighpain (65.14%)followed by eye irritation(62.86%)andnose irritation(57.71%) from automobile exhaust and road dust exposure. Furthermore, study participants reportedeye irritation (63.43%)and blurred vision (53.14%) from sunlight exposure.Work-relatedinjuryinthe past threemonths was found inonly 5.14% of participants which consisted ofa non-fatal injury without absence from work (70.00%) and less than three days away from work (30.00%).Injury causation was mainly related tobeing struck byobject(66.66%), a cut from a sharp machine or equipment (16.67%) and tripping onmaterial or equipment (16.67%).Injured body parts werearm/elbow (29.41%), leg/shin/calf/knee(29.41%), and hand/fingers/wrist (23.53%). The results of this study indicate that occupational and environmental health nursesand relevant organizations should recognize the significanceof health statusrelated to risk at work among traffic police officers. These study results should be used to effectively plan risk communication and health surveillance. These measureswould help to prevent and decrease work-related illnesses and injuries, and enhance the quality of life among traffic police officers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectHealth statusen_US
dc.subjectRisken_US
dc.titleภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของตำรวจจราจร จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHealth status related to risk at work among traffic police, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddcW 4-
thailis.controlvocab.thashHealth status-
thailis.controlvocab.thashRisk-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ว173ภ 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractตำรวจจราจรเป็นกลุ่มอาชีพที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของตำรวจจราจรกลุ่มงานจราจร ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 175 ราย รวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนเมษายนถึงมิถุนายนพ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของตำรวจจราจรจังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1 และทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าในระดับที่ยอมรับได้ (.83-.93) ร่วมกับการตรวจสมรรถภาพการได้ยินและสมรรถภาพปอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การเจ็บป่วยที่อาจเกี่ยวเนื่องจากการทำงานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา ที่สำคัญ คือ อาการปวดระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ โดยกลุ่มตัวอย่าง มีอาการปวดต้นคอ/ไหล่/หลังส่วนบน (ร้อยละ73.14) และหลังส่วนล่าง/เอว/สะโพก/ต้นขา(ร้อยละ65.14) รองลงมาคือ อาการระคายเคืองตา แสบตา (ร้อยละ 62.86) และแสบจมูกจากการสัมผัสฝุ่นควัน มลพิษจากท่อไอเสียรถยนต์และฝุ่นบนท้องถนน (ร้อยละ57.71)นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังมีอาการแสบเคืองตา(ร้อยละ63.43) และมองเห็นไม่ชัด ตาพร่ามัว(ร้อยละ53.14) จากการสัมผัสแสงแดดการบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาพบเพียง ร้อยละ 5.14โดยเป็นการบาดเจ็บเพียงเล็กน้อยไม่ต้องหยุดงาน (ร้อยละ70.00) และหยุดงานไม่เกิน 3 วัน(ร้อยละ 30.00)สาเหตุของการบาดเจ็บ เกิดจากถูกวัตถุสิ่งของกระแทก/ตกหล่นใส่ (ร้อยละ 66.66)เครื่องมือ อุปกรณ์ที่คมตัด บาด ทิ่มแทง(ร้อยละ 16.67) และสะดุดสิ่งของ วัสดุ อุปกรณ์ (ร้อยละ 16.67) อวัยวะหรือส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บ คือ แขน ข้อศอก (ร้อยละ 29.41)ขา หน้าแข้ง น่อง เข่า(ร้อยละ29.41) และมือ นิ้วมือ ข้อมือ (ร้อยละ23.53) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า พยาบาลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรตระหนักให้ความสำคัญกับภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของตำรวจจราจร เพื่อวางแผนการสื่อสารความเสี่ยงและการเฝ้าระวังสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อการป้องกันและลดการเกิดการเจ็บป่วยและบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของตำรวจจราจรต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)119.6 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract333.34 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS5.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.