Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorภานุพงศ์ ทองคำen_US
dc.date.accessioned2016-09-28T03:02:11Z-
dc.date.available2016-09-28T03:02:11Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39538-
dc.description.abstractThis independent study aimed to explore attitude of broider farmers in Songkla province towards herbal extracts for production efficiency improvement. Data were completely collected by the use of questionnaires distributed to 70 broider farmers (farm owners) in Songkla province. Data analysis was, then, conducted by the use of basic statistics, called, descriptive statistics, frequency, and mean. The findings presented that the majority of respondents were male in the age of 41-50 years old, married, and graduated in primary level of education. They earned average monthly income at the amount of 50,000-100,000 Baht. They owned 5,000-10,000 broiders and raised them in the housing with evaporation cooling system. In the cognitive approach of the attitude study, the overall cognition on herbal extracts for production efficiency improvement of the majority was ranked at 57.1%. The fact that was correctly replied by the respondents the most was the herbal extracts having lower price than antibiotics. In marketing mix approach, their opinions towards using herbal extracts for production efficiency improvement were ranked at the agree level in an overview. The top elements of each factor were shown hereafter. In product factor, the top element was the potential of herbal extracts in increasing production efficiency improvement. In price factor, the top element was the reasonable price comparing to its quality. In place factor, the top element was the availability of animal drug stores. In promotion factor, the top element was the access of salesperson to introduce products at farms. The study on behavior trend towards the use of herbal extracts for production efficiency improvement revealed that the respondents would recommend others to use the herbal extracts.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.subjectสารสกัดจากพืชen_US
dc.subjectพืชสมุนไพรen_US
dc.titleทัศนคติของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในจังหวัดสงขลาต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยสารสกัดจากพืชสมุนไพรen_US
dc.title.alternativeAttitude of broiler farmers in Songkhla Province Towards improving production efficiency through herbal extractsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8343-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ทัศนคติ-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- สงขลา-
thailis.controlvocab.thashสารสกัดจากพืช-
thailis.controlvocab.thashพืชสมุนไพร-
thailis.controlvocab.thashไก่เนื้อ -- การเลี้ยง-
thailis.manuscript.callnumberว 658.8343 ภ254ท-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในจังหวัดสงขลา ที่มีต่อการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ (เจ้าของฟาร์ม) ในจังหวัดสงขลา ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 70 ราย เป็นการศึกษาจากประชากรทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติขั้นพื้นฐาน ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ และร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาขั้นสูงสุด ประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,000 -100,000 บาท มีจำนวนไก่เนื้อ 5,000 – 10,000 ตัว มีรูปแบบของโรงเรือนในการเลี้ยงไก่เนื้อเป็นโรงเรือนระบบปิด การศึกษาทัศนคติในด้านความรู้ความเข้าใจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 57.1 โดยเรื่องที่ผู้ตอบแบบสอบถามตอบได้ถูกต้องมากที่สุด คือ สารสกัดจากพืชสมุนไพรราคาถูกกว่ายาปฏิชีวนะ ด้านความคิดเห็นที่มีต่อการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตของผู้ตอบแบบสอบถามตามส่วนประสมทางการตลาด พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วย โดยแต่ละด้านที่มีค่าสูงสุดมีดังต่อไปนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ คือ สารสกัดจากพืชสมุนไพรจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ด้านราคา คือ ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย คือ มีจำหน่ายที่ร้านขายยาสำหรับสัตว์ และด้านส่งเสริมการตลาด คือ มีพนักงานขายไปนำเสนอสินค้าถึงฟาร์ม ด้านแนวโน้มพฤติกรรมที่มีต่อการใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ มีการแนะนำบุคคลอื่นให้ใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)176.54 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract176.89 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.