Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39534
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง รัตนา พันธ์พานิช-
dc.contributor.authorศักดิ์ดา ทาคำen_US
dc.date.accessioned2016-09-28T02:49:51Z-
dc.date.available2016-09-28T02:49:51Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39534-
dc.description.abstractThis study aimed to study the alcohol drinking behaviors and quality of life among people over 20 years of Baneaum sub-district, Mueang Lampang district, Lampang province. The duration of the study was from March - May 2014, which 380 people were the sample group. The data was analyzed by using the Descriptive Statistic. From the sample group, there was 73.2 percent of female answerers and 95.5 percent of the answerers drank alcohol themselves. When considering from the age, they started to drink when they were 15-25 years old. They drank at the first time with friends for the enjoyment, which was 44.6 percent. After considering the reason for first alcohol drinking, it found that 66.1 percent of them drank for the socialization and the kinds of alcohol consisted of local alcohol and beer, which were respectively 41.0 percent and 25.3 percent. The 22.9 percent of drinkers used to have the accident after drinking; 80.7 percent was the traffic accident. The alcohol drinking also affected to working; 44.4 percent was for lower effectiveness, and 21.5 percent was for absence. The effect from drinking consisted of the quarrel, the others’ attacks, and the mayhem to others, which were respectively 21.2 percent, 9.6 percent, and 9.4 percent. When considering the quality of life, it found that their quality of life were in the moderate level; the health, the mind, the social relation, and the environment. The result of this study can be used as the basic information for related organization to solve the problems and find the way to reduce the alcohol drinking in community that can decrease the effect causing in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์en_US
dc.titleพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนอายุ 20 ปีขึ้นไป ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeAlcohol Drinking Behaviors and Quality of Life Among People Over 20 Years of Baneaum Sub-district, Mueang Lampang District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc362.292-
thailis.controlvocab.thashการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- ลำปาง-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 362.292 ศ111พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และคุณภาพชีวิตของประชาชนอายุ 20 ปีขึ้นไป ตำบลบ้านเอื้อม อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ระหว่างเดือน มีนาคม - พฤษภาคม 2557 จำนวน 380 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง ร้อยละ 73.2 และเป็นผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์เอง ร้อยละ 95.5 อายุที่เริ่มดื่มแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่อายุ 15 - 25 ปี ร้อยละ 57.0 เหตุการณ์ในการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรก ส่วนใหญ่ดื่มกับเพื่อน เพื่อความสนุกสนาน ร้อยละ 44.6 ส่วนเหตุผลในการดื่มครั้งแรก ส่วนใหญ่ดื่มเพื่อเข้าสังคมร้อยละ 66.1 ประเภทแอลกอฮอล์ที่ดื่มครั้งแรกคือเหล้าเสรี และเบียร์ ร้อยละ 41.0 และ 25.3 ตามลำดับ ผู้ตอบแบบสอบถามเคยเกิดอุบัติเหตุหลังจากการดื่ม ร้อยละ 22.9 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอุบัติเหตุจราจร ร้อยละ 80.7 การดื่มส่งผลกระทบต่อการทำงาน ด้านประสิทธิภาพการทำงานลดลงร้อยละ 44.4 หยุดงานร้อยละ 21.5 เหตุการณ์ผลกระทบหลังจากการดื่ม ได้แก่ การทะเลาะวิวาท ถูกบุคคลอื่นทำร้าย และทำร้ายร่างกายผู้อื่น ร้อยละ 21.2 9.6 และ 9.4 ตามลำดับ ส่วนผลการศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้ตอบแบบสอบถามโดยรวมมีระดับคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อต่อยอดหาแนวทางการแก้ไขปัญหา และหามาตรการในการรณรงค์ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพื่อเป็นการลดผลกระทบที่อันอาจจะเกิดขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.29 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract287.39 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.