Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39522
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิกุล นันทชัยพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ปรีญาภรณ์ งามชื่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-09-20T10:01:59Z | - |
dc.date.available | 2016-09-20T10:01:59Z | - |
dc.date.issued | 2015-05 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39522 | - |
dc.description.abstract | Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD) is a major health problem.Pulmonary rehabilitation is accepted by clinicians as an effective intervention for improving health outcomes among persons with COPD. Patients’ behavior related to lung rehabilitation should be promoted. This operational study aimedto test the effectiveness of the Empowerment Program on Pulmonary Rehabilitation (EPPR) at a community hospital in Lamphun province. The study participants consisted of 111 persons with COPD who visited the COPD clinic, 58 before and 53 after implementing the program. The process of implementing the program was based on the framework proposed by the National Health and Medical Research Council (NHMRC, 1999). The outcomes were evaluated by noting improving behavior for pulmonary rehabilitation and decreasing utilization of health services due to dyspnea exacerbation. Data were analyzed by using descriptive statistics. The results of the study demonstrated the effectiveness of the program as follows. 1.The percentage of participants who practiced lung rehabilitation at the good level (>80%) among the before-implementation group was 13.79, while the percentage of the same for theafter-implementation group was 96.23. 2.The percentages of participants who utilized health care services due to dyspnea exacerbation among the before-implementation group was 74.14, while the percentage of the same for the after-implementation group was 52.83. The findings of this study confirm that the EPPR can be used by community hospitals to improve patients’ behavior and decrease health service utilization due to dyspnea exacerbation. Further study should be conducted in the long term in order to test for the sustainability of the outcomes. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจใน การฟื้นฟูสมรรถภาพปอดสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงพยาบาลป่าซาง จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of Implementing Empowerment Program on Pulmonary Rehabilitation for Persons with Chronic Obstructive Pulmonary Disease, Pasang Hospital, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางภาวะสุขภาพที่สำคัญยิ่ง การฟื้นฟูสมรรถภาพปอดได้รับการยอมรับในกลุ่มผู้ปฏิบัติทางคลินิกว่า เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการยกระดับผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจึงสมควรได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด การวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดลำพูน ผู้ร่วมการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มารับบริการที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 111 คน เป็นผู้มารับบริการก่อนการใช้โปรแกรม จำนวน 58 คน และหลังการใช้โปรแกรม จำนวน 53 คน กระบวนการใช้โปรแกรมอิงตามกรอบแนวคิดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เสนอโดยสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติของประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999) ผลลัพธ์ประเมินจากพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด และการใช้บริการในสถานบริการสุขภาพด้วยอาการหายใจเหนื่อยหอบกำเริบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาแสดงถึงประสิทธิผลของการใช้โปรแกรม ดังต่อไปนี้ 1.ร้อยละของผู้เข้าร่วมการศึกษาที่มีคะแนนการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในระดับดี (>80%) ในกลุ่มก่อนการใช้โปรแกรม คิดเป็นร้อยละ 13.79 ในขณะที่กลุ่มหลังการใช้โปรแกรม คิดเป็น ร้อยละ 96.23 2.ร้อยละของผู้เข้าร่วมการศึกษาที่เข้ามาใช้บริการในสถานบริการสุขภาพด้วยอาการหายใจเหนื่อยหอบกำเริบในกลุ่มก่อนการใช้โปรแกรม คิดเป็นร้อยละ 74.14 ในขณะที่กลุ่มหลังการใช้โปรแกรม คิดเป็นร้อยละ 52.83 ข้อค้นพบจากการศึกษานี้ยืนยันได้ว่า โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง สามารถนำไปใช้ในโรงพยาบาลชุมชนเพื่อ การส่งเสริมพฤติกรรม และลดการใช้บริการในสถานบริการสุขภาพด้วยอาการหายใจเหนื่อยหอบกำเริบ การศึกษาครั้งต่อไปควรมีการดำเนินการในระยะยาว เพื่อทดสอบความยั่งยืนของผลลัพธ์ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 59.59 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 231.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 4.87 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.