Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ศิวรักษ์ ศิวารมย์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์-
dc.contributor.authorธาริณี ชินวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2016-07-14T08:49:31Z-
dc.date.available2016-07-14T08:49:31Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39426-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study were to study obstacles and recommendations for improving the performance whose the teachers in Autistic Self–contained Classrooms, Chiang mai province base on SEAT framework. The samples were 6 school administrators, 6 Autistic self–contained classrooms teachers and 12 special teachers from 6 leader schools that join in Autistic Self–contained Classrooms at Chiang mai province. These schools were Wat Chang Kien School, Baan rim tai school, Baan lao pao school, Baan Bo Hin school, San sai luang school, and Wat saohin school. Tools used in this study were interviewing form and questionnaire. The data was analyzed, presented percentage and descriptive explanation. The results were : Obstruction of the Autistic Self–contained Classrooms teacher ‘s performance arranged in order from most to least prevalent as follows; T: Tools, E: Environment, A: Activities, and S: Students. The recommendation following SEAT framework should be, S: Students, the regular students were prepared and explained about Autistic students. E: Environment, the Autistic Self–contained Classrooms was improved appropriately and involved people to understanding autistic students. A: Activities, improving teachers by training and joining in seminar about special attendance and efficient activities. T: Tools, providing budget for instruction media, materials of media production, and learning activities in classrooms. For school should be follow up by Special Education Center continuously. Finally, promoting teachers have opportunities in sharing and learning from institute or people who special in autistic students such as occupational therapists, doctors and parents.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอุปสรรคของการปฏิบัติงานของครูในห้องเรียนคู่ขนานออทิสติก จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeObstacles of Teachers’ Performance in Autistic Self–contained Classrooms, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานของครูห้องเรียนคู่ขนานออทิสติก จังหวัดเชียงใหม่ ตามกรอบโครงสร้างซีท โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 24 คน คือ ผู้บริหาร จำนวน 6 คน ครูเรียนร่วม จำนวน 6 คน และครูการศึกษาพิเศษประจำห้องเรียนคู่ขนานออทิสติก จากโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมที่จัดห้องเรียนคู่ขนานออทิสติก จังหวัดเชียงใหม่ จากทั้งหมด 6 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดช่างเคี่ยน โรงเรียนบ้านริมใต้ โรงเรียนบ้านเหล่าเป้า โรงเรียนบ้านบ่อหิน โรงเรียนสันทรายหลวง และโรงเรียนวัดเสาหิน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม และประเด็นการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยการหาค่าร้อยละและนำเสนอในรูปตารางประกอบการบรรยาย ผลการศึกษา พบว่า ประเด็นที่เป็นอุปสรรค ปัญหาต่อการปฏิบัติงานของครูห้องคู่ขนานเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ คือ 1) ด้าน T: Tools เครื่องมือ 2) ด้าน E : Environment สภาพแวดล้อม 3) ด้าน A : Activities กิจกรรม และ 4) ด้าน S : Students นักเรียน ข้อเสนอแนะ ตามกรอบโครงสร้างซีท ควรมีดังนี้ คือ ด้าน S : Students มีการจัดชี้แจงทำความเข้าใจให้กับนักเรียนปกติ ส่วนด้าน E : Environment มีการปรับปรุงห้องเรียนคู่ขนานให้เป็นสัดส่วนให้ชัดเจน และมีการจัดชี้แจงทำความเข้าใจให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนออทิสติก รวมทั้งด้าน A : Activities มีการอบรม สัมมนา เพื่อเพิ่มเทคนิคแก่ครูผู้รับผิดชอบให้มีความชำนาญการเกี่ยวกับการดูแล จัดกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ และด้าน T : Tool มีการจัดสรรงบประมาณในการจัดหาสื่อ ผลิตสื่อและการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน มีการนิเทศ ติดตาม และประสานงานระหว่างศูนย์การศึกษาพิเศษกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเด็ก เช่น นักกิจกรรมบำบัด แพทย์ผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครองen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docAbstract (words)74 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 163.42 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.