Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ภูพายัพ ยอดมิ่ง-
dc.contributor.authorเสน่ห์พงษ์ ชัยชมภูสกุลen_US
dc.date.accessioned2016-07-14T08:35:30Z-
dc.date.available2016-07-14T08:35:30Z-
dc.date.issued2558-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39410-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study are to analyze formats of entertainment-education television and examine content of entertainment-education programs for children. Four entertainment-education programs from three television channels; Channel 3, Channel 7 and Thai PBS were investigated. The programs were broadcasted during 1st October until 31st December 2014. The study has shown that the high average types of children’s programs are mathematics, reading, computing and ICT literacy respectively. To examine the programs’ content, three professional producers were interviewed. The interviews were done under the standards from Office of the Basic Education Commission of Thailand. After the intensive interviews, there were two main ideas in conclusion. First, the varieties of TV content for children are different depending on audience targets and purposes of media companies. Second, excellent TV content is not only about promoting learning skills or life skills. Thus, for example, self-esteem or volunteerism in children should also be involved in TV content.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาและรูปแบบรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิงภายใต้แนวคิดการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Content and Format of Edutainment Television Programs for Children Within Learning Skill Enhancement Concepten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์เนื้อหาและรูปแบบรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิงภายใต้แนวคิดการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้” มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือเพื่อวิเคราะห์รูปแบบรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิง และเพื่อวิเคราะห์เนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิงผลการศึกษา รายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิง ทั้งหมด 4 รายการจาก 3 ช่องสถานีโทรทัศน์ฟรีทีวีที่ออกอากาศทางช่อง 3, 7 และไทยพีบีเอส ในช่วงระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2557 พบว่า รูปแบบของรายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมากที่สุดคือ รูปแบบรายการเกี่ยวกับทักษะในการคิดเลขเป็น ((A)Rithemetics) และรูปแบบรายการเกี่ยวกับทักษะในการอ่านออก (Reading) รองลงมาคือ รูปแบบรายการเกี่ยวกับทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) กลุ่มตัวอย่าง ในการวิเคราะห์เนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กประเภทสาระบันเทิงโดยใช้การสัมภาษณ์ผ่านแบบสอบถามที่จัดทำตามหลักของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ว่าด้วย องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 3 ท่าน ให้ความคิดเห็นที่แตกต่างกันแบ่งเป็น 2 แนวคิด 1) เนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กมีความแตกต่างหลากหลาย วัตถุประสงค์การทำรายการของหน่วยงาน หรือองค์กรนั้นๆ 2) เนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กที่ดี ไม่ได้สอนแต่ความรู้ในการใช้ทักษะชีวิต หรือทักษะในการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว ยังคงมีองค์ประกอบอื่นอีกมากมาย เช่นการเห็นคุณค่าในตัวเอง การมีจิตอาสารับใช้สังคมen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)174.92 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 239.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.