Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39402
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรนุช กิตสัมบันท์-
dc.contributor.authorพรทิพา บุญหมื่นen_US
dc.date.accessioned2016-07-13T09:54:10Z-
dc.date.available2016-07-13T09:54:10Z-
dc.date.issued2559-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39402-
dc.description.abstractNegative self-talk can be replaced by positive self-talk and positive self talk can also help to reduce depression. The one group pretest-posttest quasi-experimental research aimed to examine the effect of Positive Self-talk Training Program on depression among patients with alcohol dependence, at Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province. The subjects included 12 patients with alcohol dependence with moderate and mild levels of depression who received services at Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province between October through-December 2015. The research instruments consisted of 1) Demographic Data Form of Among Patients with Alcohol Dependence, 2) 9-Item Thai Patient Health Questionnaire (Thai PHQ-9) by Lotrakul, Sumrithe, & Saipani (2008), and 3) The Positive Self-talk Training Program which was modified by Boonmeun, Thapinta and Kitsumban (2015) from a Positive Self-talk Training Program developed by Mahakittikun (2005) based on the concept of Nelson-Jones (1990) and related literature review, and tested for content validity by three expert. Data were analyzed using Wilcoxon Matched Pair Signed-Ranks Test.   The results of the study revealed that: Mean score of depression among patients with alcohol dependence at the end of the Positive Self-talk Training Program was significantly lower than that before enrolling in the program (p < .05). The results of this study indicated that a Positive Self-talk Training Program was effective in reducing depression among patients with alcohol dependence. Further implications of these findings suggest that a psychiatric nurse should use this program as an alternative treatment of depression.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุรา โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffect of Positive Self-talk Training Program on Depression Among Patients with Alcohol Dependence, Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการพูดกับตัวเองทางลบเมื่อพบปัญหาสามารถแทนที่ได้ด้วยการพูดกับตัวเองทางบวก ซึ่งจะสามารถช่วยลดภาวะซึมเศร้าได้ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุรา โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ป่วยโรคติดสุรา ที่มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 12 คนที่เข้ารับการบริการแบบผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนตุลามคม ถึง เดือนธันวาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับข้องมูลทั่วไปของผู้ป่วยโรคติดสุรา 2) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 9-Item Thai Patient Health Questionnaire (Thai PHQ-9) ฉบับภาษาไทยนำมาปรับใช้โดย Lotrakul, Sumrithe, & Saipani (2008) โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวก โดย พรทิพา บุญหมื่น ดาราวรรณ ต๊ะปินตา และ วรนุช กิตสัมบันท์ ได้ทำการดัดแปลงจากโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวก ของขวัญจิต มหากิตติคุณ (2548) ที่ได้พัฒนาตามแนวคิดของ นีลสัน โจนส์ (Nelson-Jones,1990) ร่วมกับวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่านและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณราสถิติ Wilcoxon Matched Pair Signed-Ranks Test   ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุราหลังเข้าร่วมโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกมีประสิทธิภาพสามารถลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุราได้ ดังนั้นพยาบาลจิตเวชสามารถนำโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวก เพื่อเป็นทางเลือกในการบำบัดภาวะซึมเศร้าen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
02 abstract.docxAbstract (words)52.82 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 152.89 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.