Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39401
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ดาราวรรณ ต๊ะปินตา | - |
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ สกุลพรรณ์ | - |
dc.contributor.author | วราภรณ์ ประพันธ์ศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-13T09:53:09Z | - |
dc.date.available | 2016-07-13T09:53:09Z | - |
dc.date.issued | 2559-03 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39401 | - |
dc.description.abstract | Alcohol Dependent Patients who are depressed cannot be happy in their daily live, this not effects only themselves, but their family and community also. Cognitive behavior therapy is a psycho-social therapy that has been shown to reduce depression among alcohol dependent patients. The purpose of this operational study was to reveal the effectiveness of implementing the brief cognitive behavior therapy program on depression among alcohol dependent patients at Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province. The samples were 28 alcohol dependent patients with depression who received services in IPD at Suan Prung Psychiatric Hospital from October to December, 2015 and 6 nurses who implemented the program. The tools used for this study included: 1) demographic data form, 2) Patient Health Questionnaire (PHQ-9) Thai version (Lotrakul, Sumrithe, & Saipani, 2008), 3) The questionnaires of nurse’s opinions who used the brief cognitive behavior therapy program with depression among alcohol dependent patients, and 4) The Brief Cognitive Behavior Therapy Program developed by Thapinta, Skulphan, and Kittrattanapaiboon (2014) based on Beck’s theory (1995). Data were analyzed by descriptive statistics. The results of the study revealed that: 1. Depression scores of 28 alcohol dependent patients decrease from mild and moderate level to none depression when the brief cognitive behavior therapy program finished and then 4 weeks follow up; 2. Six nurses shared their opinion on using the brief cognitive behavior therapy program completely agreed with every item and recognized the value of the program. The results of this study indicated that the brief cognitive behavior therapy program has effectiveness for decreasing depression among alcohol dependent patients at Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province and the nurses who implemented the program completely agreed with every item and recognized the value of the program for practice in the unit. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุรา โรงพยาบาล สวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of Implementing the Brief Cognitive Behavior Therapy Program on Depression Among Alcohol Dependent Patients, Suan Prung Psychiatric Hospital, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุราเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข ส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม การบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมเป็น การบำบัดทางจิตสังคมอย่างหนึ่งที่จะช่วยลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุราได้ วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุรา โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยโรคติดสุราที่เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยใน ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 จำนวน 28 ราย และทีมบุคลากรพยาบาลผู้ใช้โปรแกรมจำนวน 6 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมิน PHQ 9 ของนายแพทย์มาโนช ฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมบุคคลากรพยาบาลผู้ใช้โปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อ และ 4) โปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อเพื่อลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคติดสุราที่มารับบริการในโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า 1. คะแนนภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคติดสุราทั้ง 28 ราย หลังสิ้นสุดโปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อ ลดลงจากระดับเล็กน้อยและปานกลางเป็นไม่มีภาวะซึมเศร้าในระยะติดตามผลหลัง 4 สัปดาห์ 2. ความคิดเห็นของทีมบุคลากรพยาบาลผู้ใช้โปรแกรมการบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อ พบว่าผู้เข้าร่วมศึกษาทุกคน เห็นด้วยในทุกข้อคำถามทุกด้าน และเห็นด้วยว่าโปรแกรมนี้มีประโยชน์ จากผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการใช้โปรแกรมการให้การบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบย่อมีประสิทธิผลในการช่วยลดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยที่เป็นโรคติดสุราโรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ และผู้ใช้โปรแกรมเห็นด้วยในทุกด้านในการนำโปรแกรม มาใช้ในหน่วยงาน | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.docx | Abstract (words) | 192.43 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 252.09 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.