Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39399
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์-
dc.contributor.authorปริศนา ทองอร่ามen_US
dc.date.accessioned2016-07-12T09:29:47Z-
dc.date.available2016-07-12T09:29:47Z-
dc.date.issued2559-01-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39399-
dc.description.abstractWork safety management systems are effective processes which reduce workplace harm and injury. The objective of this descriptive study was to examine work safety management systems for nurses and identify nurses’ opinions towards the work safety management systems in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The study sample consisted of 379 registered nurses who had experience in nursing for at least one year and who were randomly selected by a systematic random sampling technique. The research instruments consisted of a questionnaire which was developed based on the work safety management model suggested by Fernandez-Muniz, Montes-Peon, & Vazquez-Ordas (2007). Data were analyzed by using descriptive statistics; i.e. frequency, mean, and percentage. Study results revealed the following: 1. The overall score of the work safety management system was at an acceptable level ("X" ̅=1.80, SD=0.57). Considering the scores of each component of the work safety management systems: work safety policies scored the highest average score ("X" ̅=1.95, SD=0.58); followed by control and review of activities ("X" ̅=1.90, SD=0.56); then communication and transfer of information ("X" ̅=1.85, SD=0.55); then planning ("X" ̅=1.81, SD=0.54); staff training and developing safety competency ("X" ̅=1.69, SD=0.59), and finally encouragement for participation ("X" ̅=1.63, SD=0.60). 2. The majority of nurses reported that the work safety management systems in the hospital were suitable for reducing workplace harm and injury. Nevertheless, nurses had recommendations to improve the work safety management system of the hospital. The recommendations included 1) expanding the specific guidelines for caring for patients who have a high risk of spreading an infection to others, 2) increasing protection devices and motivating nurses to comply with work safety practice guidelines, 3) increasing work safety training, 4) increasing formal communication about unsafe work to reach all nursing personnel, and 5) handling all unsafe work by using root cause analysis. The results of this study could be used as information for nurse managers to improve work safety management systems in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleระบบการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWork Safety Management System for Nurses, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractระบบการจัดการความปลอดภัยในการทำงานเป็นกระบวนการที่มีประสิทธิผลในการลดอันตรายและการบาดเจ็บจากการทำงาน การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาลและความคิดเห็นของพยาบาลต่อระบบการจัดการความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 379 คน ซึ่งถูกสุ่มเลือกมาโดยวิธีการสุ่มแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ที่สร้างขึ้นตามแนวคิดการจัดการความปลอดภัยของ เฟอร์นานเดส-มูเนซ์, มอนเตส-เปออง, และ วาซเคซ-ออร์ดาส (2007) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า 1. คะแนนการจัดการความปลอดภัยในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับยอมรับได้ ("X" ̅=1.80, SD=0.57) เมื่อแยกเป็นรายด้านพบว่า การจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาล ด้านนโยบายความปลอดภัย ("X" ̅=1.95, SD=0.58) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ การควบคุมและการทบทวนกิจกรรม ("X" ̅=1.90, SD=0.56) การสื่อสารและส่งต่อข้อมูล ("X" ̅=1.85, SD=0.55) การวางแผน ("X" ̅= 1.81, SD=0.54) การฝึกอบรมและพัฒนาสมรรถนะบุคคลากรด้านความปลอดภัย ("X" ̅=1.69, SD=0.59) และการจูงใจให้บุคลากรมีส่วนร่วม ("X" ̅=1.63, SD=0.60) 2. พยาบาลส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าระบบการจัดการความปลอดภัยมีความเหมาะสมในการลดอันตรายและการบาดเจ็บจากการทำงาน แต่พยาบาลให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงระบบการจัดการความปลอดภัยในการทำงาน ดังนี้ 1) การเพิ่มแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง 2) การเพิ่มการสนับสนุนอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการทำงานและแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานทำตามแนวปฏิบัติในการป้องกันอันตรายจากการทำงาน 3) การเพิ่มการฝึกอบรมเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากการทำงาน 4) การเพิ่มการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายในการทำงานให้บุคลากรได้ทราบอย่างทั่วถึง และ 5) การนำความเสี่ยงในการทำงานทุกเรื่องมาวิเคราะห์หาสาเหตุ ผลที่ได้จากการศึกษานี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทางการพยาบาลในการปรับปรุงจัดการระบบความปลอดภัยในการทำงานของบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)176.36 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 279.14 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.76 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.