Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39392
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ. ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล | - |
dc.contributor.advisor | รศ.ดร.วรทัศน์ อินทรัคคัมพร | - |
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | กฤดิพัฒน์ ระเบ็ง | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-12T09:24:12Z | - |
dc.date.available | 2016-07-12T09:24:12Z | - |
dc.date.issued | 2558-10 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39392 | - |
dc.description.abstract | This research focuses on investigating and analysing farmers’ perspectives on soil and water conservation as well as the relationship between people, society economic, and farmers’ perspectives toward soil and water preservation. Within this research, the main focus is on 62 registered farmer families under the expansion project of the Thai Royal project in Baan Pang Daeng Nai, Tambon Chiang Dao, Amphoe Chiang Dao, Chiang Mai. In addition, the author plans to analyse and present results in forms of a frequency distribution, percentage, average, standard deviation, and hypothesis tests using the chi-square statistic. According to the result, most respondents of this research are male; the average age is 39 years old and 45 percent of them are illiterate. The average number of family members is 5 persons, where 3 of them are farmers. Each family held 9 acres of agricultural land with the average annual household income at 83,303 baht. These show that 9 acres of soil and water conservation per family can bring about 79,499 baht per year. Furthermore, the average participation in the soil and water conservation project is 3 times a year, similar amount of time to the meeting with government officials, whereas in the sustainable highland development project shows only twice a year. This leads to understand that farmers are well aware of soil and water preservation at 80 percent. The researcher have found from the results on soil and water preservation of farmers’ perspectives that most farmers are agreed to the project. Besides, hypothesis tests shows that there is no statistically significant relationship between people, society economic, and farmers’ perspectives on soil and water preservation. However, one of the major problems is that farmers need some advice from the land development officers to guide in both agronomic methods and mechanical methods to reserve soil and water (2.39/3 of the average). Finally, the result of this study provides significant recommendations and guidelines on soil and water conservation aims to inspire and bring concrete tools for sustainable consumption to the next generation. Firstly, there should be a policy promoting innovation system from bottom-up approach. Secondly, each farmer family should allow further development of the farm for soil and water conservation system, as well as supporting in manure seeds on account of improving soil quality and dolomite plaster with the average value of 2.56, 2.39, and 2.37 out of 3 respectively. Due to the fact that the area of the project is steep, there is the higher risk for erosion, which leads to high acid in soil reaction raising difficulty level in farming. Therefore, soil and water conservation project should be conducted in accordance with the participation of farmers in both agronomic methods and mechanical methods, based on their principles of cultural dynamics which should be adjusted to recent trends. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำที่บ้านปางแดงใน ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Farmers’ Opinion Towards Soil and Water Conservation at Pang Daeng Nai Village, Chiang Dao Sub-district, Chiang Dao District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมกับความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำการศึกษากับเกษตรกรบ้านปางแดงใน ที่เป็นสมาชิกที่ขึ้นทะเบียนกับโครงการขยายผลโครงการหลวง บ้านปางแดงใน ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 62 ครัวเรือน ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นำมาวิเคราะห์และแสดงผลในรูปของการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นชาย มีอายุเฉลี่ย 39 ปี ร้อยละ 45 ไม่ได้รับการศึกษามีจำนวนสมาชิกเฉลี่ย 5 คนต่อครัวเรือน จำนวนแรงงานในภาคเกษตรเฉลี่ย 3คนต่อครัวเรือน ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 9ไร่ต่อครัวเรือน รายได้เฉลี่ย 83,303บาทต่อครัวเรือนต่อปี ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรที่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ำเฉลี่ย 9ไร่ต่อครัวเรือน รายได้เฉลี่ยจากพื้นที่ที่มีการก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำเฉลี่ย 79,466บาทต่อครัวเรือนต่อปี การเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำเฉลี่ย 3 ครั้งต่อปี การเข้าร่วมประชุมและการฝึกอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาที่สูงเฉลี่ย 2ครั้งต่อปี และการติดต่อพบปะกับบุคลากรจากองค์กรรัฐบาลเฉลี่ย 3ครั้งต่อปี ความรู้ของเกษตรกรในการอนุรักษ์ดินและน้ำเฉลี่ยร้อยละ 80 ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ พบว่าโดยเฉลี่ยเกษตรกรเห็นด้วยกับการก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ส่วนการทดสอบสมมุติฐานพบว่าลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจและปัจจัยทางสังคม ของเกษตรกรบ้านปางแดงในไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ปัญหาการก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำนั้น เกษตรกรมีความต้องการ ให้เจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน เข้ามาให้คำปรึกษาในด้านการเกษตร และการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทั้งวิธีกลและวิธีพืช โดยมีค่าเฉลี่ย 2.39 จากคะแนนเต็ม 3 ข้อเสนอแนะการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและอนุชนรุ่นหลังจะได้ใช้ประโยชน์เท่าเทียมกับบรรพบุรุษนั้น ควรจะมีนโยบายการส่งเสริมจากล่างสู่บนและเกษตรกรให้ช่วยก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำเพิ่มในพื้นที่ของเกษตรกร ให้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด เพื่อปรับปรุงบำรุงดินและให้ช่วยสนับสนุนปูนโดโลไมท์ เพื่อปรับปรุงดินโดยมีค่าเฉลี่ย 2.56 , 2.39 และ 2.37 จากคะแนนเต็ม 3 ตามลำดับ เพราะว่าสภาพพื้นที่ของโครงการเป็นที่สูง มีการชะล้างพังทลายของดิน ทำให้เกิดดินกรดเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร ดังนั้น ควรจะนำมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำทั้งวิธีกลและวิธีพืชมาผสมผสานให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วม โดยยึดหลักวัฒนธรรมประเพณีของชนเผ่าแบบดั้งเดิมโดยปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.doc | Abstract (words) | 190 kB | Microsoft Word | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 246.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.