Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.authorวรรณวิภา ชำนาญen_US
dc.date.accessioned2016-07-11T07:51:12Z-
dc.date.available2016-07-11T07:51:12Z-
dc.date.issued2559-02-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39386-
dc.description.abstractPatients with schizophrenia who cannot control their anger will harm themselves and others. Therefore, an anger control program is essential for schizophrenic patients who are not able to control anger expression. The purpose of this study was to determine the effectiveness of implementing the anger management program for patients with schizophrenia at Uttaradit Hospital based on Rogers' Innovation Adoption framework. The population of this study was a total of four registered nurses who are working in the psychiatric ward and 14 schizophrenic patients who were diagnosed with aggressive behavior. The research instrument used was the anger management program developed by Hathairat Ditaung (2007) based on Novaco's Anger Management concept (Novaco, 1975). Data was collected using the Thai version of Positive and Negative Syndrome Scale, the Aggressive Behavior Evaluation Form developed by Hathairat Ditaung (2007), and the Nurse Survey on the Program Utilization developed by Chamaiporn Chansiri (2010). Data was analyzed using descriptive statistics. Results of the study revealed that: 1. After implementing the anger management program for five days, the patients learned how to manage their feelings. The skills mostly used to lessen the anger of patients were breathing in and out (13 out of 14 patients), and followed by silently counting in their mind (11 out of 14 patients). All patients who received the intervention did not express aggressive behavior while attending the program as well as the week after the program was completed; and 2. All registered nurses suggested that the anger management program was helpful and not complicated to implement. It is also compatible with the existing program and the program outcome is easily assessable. The findings showed that the effectiveness of implementing the anger management program for patients with schizophrenia developed by Hathairat Ditaung (2007) that can be used to reduce anger in the patients. The registered nurses in the psychiatric ward can practice and present the program to managers for consideration in order to be used in the psychiatric ward at the Uttaradit Hospital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับความโกรธสำหรับผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลอุตรดิตถ์en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing the Anger Management Program for Patients with Schizophrenia, Uttaradit Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ป่วยจิตเภทที่ไม่สามารถควบคุมความโกรธของตนได้จะทำร้ายต่อตนเองและผู้อื่น ดังนั้นโปรแกรมจัดการความโกรธจึงมีความสำคัญอย่างมากต่อผู้ป่วยจิตเภทที่ไม่สามารถควบคุมการแสดงอารมณ์โกรธ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการ กับความโกรธสำหรับผู้ป่วยจิตเภทโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ตามกรอบแนวคิดการยอมรับนวัตกรรมของ โรเจอร์ (Roger, 2003) กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้คือพยาบาลวิชาชีพทุกคนที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 4 คน และผู้ป่วยจิตเภทที่มีการแสดงออกของพฤติกรรมก้าวร้าว จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการศึกษาคือโปรแกรมการจัดการกับความโกรธของ หทัยรัตน์ ดิษฐอั๊ง (2550) ที่พัฒนามาจากแนวคิดการจัดการกับความโกรธของ โนวาโค (Novaco, 1975) และเครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินอาการทางจิตผู้ป่วยจิตเภท ฉบับภาษาไทย แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวของ หทัยรัตน์ ดิษฐอั๊ง (2550) และแบบสำรวจความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้โปรแกรมของ ชมัยพร จันทร์ศิริ (2553) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า 1. ภายหลังจากที่ผู้ป่วยจิตเภทได้รับโปรแกรมการจัดการกับความโกรธเป็นระยะเวลา 5 วัน ผู้ป่วยจิตเภทมีการเรียนรู้ที่จะจัดการความโกรธด้วยตนเองโดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะใช้การควบคุมความโกรธด้วยการหายใจเข้าออก (ผู้ป่วย 13 จาก 14 คน) รองลงมาคือ การนับในใจ (ผู้ป่วย 11 จาก 14 คน) และทำให้ผู้ป่วยทุกคนไม่มีการแสดงความโกรธออกมาตลอดเวลาที่ได้รับโปรแกรมและภายหลังการได้รับโปรแกรมแล้ว 1 สัปดาห์ 2. พยาบาลวิชาชีพทุกคน มีความคิดเห็นว่าโปรแกรมการจัดการกับความโกรธมีประโยชน์ สามารถเข้ากันได้ดีกับสิ่งที่มีอยู่เดิม ไม่มีความซับซ้อนและสามารถประเมินผลลัพธ์ของโปรแกรมได้ง่าย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการจัดการกับความโกรธสำหรับผู้ป่วยจิตเภทที่พัฒนาขึ้นโดย หทัยรัตน์ ดิษฐอั๊ง (2550) สามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาการดูแลผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ได้ และพยาบาลในหอผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์สามารถปฏิบัติได้ จึงสมควรนำเสนอผู้บริหารเพื่อรับการพิจารณา นำมาใช้ในหอผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)50.01 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 150.5 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.