Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39343
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | สุทธิรดา ไยยธรรม | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-05T02:43:13Z | - |
dc.date.available | 2016-07-05T02:43:13Z | - |
dc.date.issued | 2558-04 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39343 | - |
dc.description.abstract | This research study aims to analyse roles of community committees in highland community development. The case study is set off around Huay Hom and Tah Pah Poom sub-districts of Mae La Noi district in Mae Hong Son province. The study focuses on the area of the committees’ roles in the development within the context of the community development and planning. It explores relative factors which influence the roles of the committees and it also explores the roles of stakeholders in participating in the community development plans. The research methodology used in this study is a qualitative research which includes of two collective data methods. First is the secondary data collection which is conducted through documentation research and second is the primary data collection conducted by interviews. Regarding the interview data collection method as a primary data collection, in-depth interviews as well as the observatory field notes are used as research tools. The target group that involved in the interviews are i) the community committees which compose of 29 persons, and ii) selective local officials of Huay Hom and Tha Pha Phum sub-districts who are in charge of the community development plans – 5 persons. After the systematic data collection conducted through two main methods, data analysis process is put on, under the basis of theoretical frameworks to summarise findings. Research main findings: 1. Roles of the community committees significantly influence the community development plans. This can be seen through rules of law and relevant disciplines which are relatively flexible for data collection and documentation for the development plan process. It is assumed that to be part of the development plan process, it significantly involves with some educational levels. Roles of the community committees in participating in the community development plan process – the committee actively engage in meetings, expressing opinions as well as coordinating in communities. It is also assumed that the leader and/or the committee members who are highly educated are well accepted by the communities regardless of their age or experiences. - The development concept is relatively related to the direction of the village development plans in the 1-3 year plan. Firstly, it underlines solutions to public basic needs which are public services, road constructions, water source issue for consumption, and poverty alleviation. Secondly, it defines the development as to mainly develop water source, to implement projects that require the government budget and to realise the construction projects. Thirdly, it develops and encourages participatory and coordinating process among communities. This basic concept of participatory and coordinating process among communities is in the standard of community’s plan created by the Community Development Department. 2. Relative factors influencing the roles in the development of community as well as the process of community development plans of the village committees. It is shown that internal factors and external factors significantly influence the roles of community development. Internal factors compose of i) relative relationships that encourage active engagement in community activities such as decision making process, ii) specific developmental needs and local need issues iii) local values, local tradition, and their identity etc. External factors compose of personal experiences of the village committees, their personal relationships to government officials and private sectors in the areas. 3. Roles of stakeholders in participating in the community development plan – stakeholders are the key sector in supporting the implementation process through community meetings, agreement of projects or decision making, prioritization of suitable projects to follow the action plans, the rules of law, and the standard of community development plan which was standardized by the Provincial Community Development Department. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | บทบาทคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูงในตำบลห้วยห้อมและตำบลท่าผาปุ้ม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Roles of Village Committees of Highland Community Development in Huay Hom and Tha Pha Phum Sub-district, Mae La Noi District, Mae Hong Son Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง ต.ห้วยห้อมและ ต.ท่าผาปุ้ม อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน โดยจำกัดขอบเขตการศึกษาอยู่ที่บทบาทด้านการพัฒนาและการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาท และบทบาทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อบทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้านในการมีส่วนร่วมจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็น 2 แบบ คือ จากเอกสารและการสัมภาษณ์ โดยมีเครื่องมือในการเก็บข้อมูลเป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการจดบันทึกที่ได้จากการสังเกต กลุ่มเป้าหมาย ที่ประกอบไปด้วย 1) กลุ่มที่เป็นกรรมการหมู่บ้าน จำนวน 29 คน และ 2) เจ้าหน้าหน่วยงานราชการที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาในพื้นที่ ต.ห้วยห้อมและ ต.ท่าผาปุ้ม จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปอาศัยแนวคิดทฤษฎีเป็นกรอบ ควบคู่กับการเก็บข้อมูล พร้อมจำแนกและจัดหมวดหมู่ข้อมูลเป็นระบบ แล้วจึงทำการหาข้อสรุป ตีความโดยวิธีการอุปนัยตามกรอบแนวคิด ผลการวิจัย พบว่า 1. ลักษณะบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการหมู่บ้านมีผลต่อการพัฒนาหมู่บ้าน มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง มีลักษณะยืดหยุ่น เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล การจัดทำเอกสารประกอบแผนพัฒนาหมู่บ้านมี ซึ่งระดับการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญ - ลักษณะบทบาทกรรมการหมู่บ้านในการมีส่วนร่วมจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านให้ความสำคัญกับการเข้าร่วมประชุม การแสดงความคิดเห็นและการประสานงานภายในชุมชน มีแนวโน้มผู้นำหรือสมาชิกกรรมการหมู่บ้านที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าจะได้รับการยอมรับของชุมชนมากกว่าด้านอายุหรืออาวุโส - แนวคิดการพัฒนามีความสัมพันธ์กับทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านในแผนการพัฒนาระยะ 1 – 3 ปี ดังนี้ 1) เน้นการแก้ไขปัญหาความต้องการพื้นฐาน สาธารณูปโภค ก่อสร้างถนน แก้ปัญหาแหล่งน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค และแก้ไขปัญหาความยากจน 2) การให้นิยามการพัฒนา หมายถึงการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการที่ต้องการขอสนับสนุนเป็นงบประมาณ และการก่อสร้างที่เป็นรูปธรรม 3) การพัฒนา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมผ่านการประชาคมและการติดต่อประสานงานเป็นแนวคิดพื้นฐานของสมาชิกกรรมการหมู่บ้าน ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานแผนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบทบาทการพัฒนาหมู่บ้านและการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของคณะกรรมการหมู่บ้าน สภาพแวดล้อมภายใน ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ที่มีความใกล้ชิดแบบเครือญาติ การกระตือรือร้น การให้ความสำคัญกับการเข้าร่วมตัดสินใจต่างๆ เพื่อการพัฒนาของทุกกลุ่มในหมู่บ้าน ลักษณะเฉพาะของสภาพปัญหา/ความจำเป็นการพัฒนาของพื้นที่ ค่านิยม/ประเพณี/อัตลักษณ์ของหมู่บ้าน สภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย ประสบการณ์ด้านต่างๆของคณะกรรมการหมู่บ้าน ความใกล้ชิดกับหน่วยงานราชการ/หน่วยงานเอกชนในพื้นที่ 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน มีบทบาทหลักในการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา ให้คำแนะนำให้การจัดทำแผนเป็นไปตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและเกณฑ์มาตรฐานของแผนชุมชนที่กำหนดโดยพัฒนาชุมชนจังหวัด การจัดประชุมประชาคมของหมู่บ้านเพื่อให้ความเห็นชอบโครงการและเสนอแนะจัดลำดับความต้องการโครงการที่จะบรรจุลงในแผนพัฒนาของหมู่บ้าน/ชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.doc | Abstract (words) | 196 kB | Microsoft Word | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 225.78 kB | Adobe PDF | View/Open |
full.pdf | Full IS | 6.73 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.