Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. รัตนาวดี ชอนตะวัน-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมใจ ศิระกมล-
dc.contributor.authorวัจนี สนธิen_US
dc.date.accessioned2016-07-05T02:12:38Z-
dc.date.available2016-07-05T02:12:38Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39328-
dc.description.abstractRisk management of needlestick and sharps injuries aims to reduce potential injuries among healthcare workers. The objectives of this descriptive study were to describe the current risk management of these injuries in the emergency unit of Wiang Haeng Hospital, Chiang Mai Province, and to propose ways to solve risk management problems. The participants included 35 hospital personnel. Data were collected usingsemi-structure interviews, a focus group discussion and documentation reviews.Content analysis was applied to data analysis based on the quality assessment framework by Donabedian (2003) which consists of 3 aspects: 1) a structural aspect, 2) a process aspect, and 3) an outcome aspect. The results were as follows: 1. Structural aspect: The emergency unit of Wiang Haeng Hospital has no specific organizational structure for risk management of needlestick and sharps injuries. A budget was allocated to purchase essential equipment and supplies. However, there wasadelayin receiving suppliesdue to inadequate budget planning.Shortage of nursing personnel was also found to be a problem. Suggestions included providing sufficient essential equipment and supplies, adequate staffing and also supporting hospital personnel to enhance knowledge and skills. 2. Process aspect: There were four steps for risk management of needlestick and sharps injuries, consisting of: risk identification, risk assessment, action to manage risk, and evaluation. Identified problems were: lack of awareness of incident reporting, incorrect assessment of risk severity, inadequate knowledge regarding use of tools for quality improvement and not following safety guidelines. Recommendations were made as follows: 1) raising awareness on reporting incidents among hospital personnel, 2) educating hospital personnel regarding risk severity and use of tools for quality improvement, and 3) encouraging hospital personnel to follow safety guidelines. 3. Outcome aspect: It was found that the incidents of needlestick and sharps injuries in the emergency unit of this hospital remained to be seen. The result of this study could be used as baseline information regarding risk management of needlestick and sharps injuries in the emergency unit of Wiang Haeng Hospital, Chiang Mai Province. It is recommended that hospital administrators and nurse administrators use this information to develop strategies to improve risk management of needlestick and sharps injuries.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์สถานการณ์การบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจาก เข็มทิ่มตำและของมีคมบาด หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeSituational Analysis of Risk Management of Needlestick and Sharps Injuries, an Emergency Unit, Wiang Haeng Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดมีเป้าหมายเพื่อลดความเสี่ยงต่อการการบาดเจ็บของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายสถานการณ์การบริหารความเสี่ยงของการบาดเจ็บเหล่านี้ในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่และเพื่อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว ผู้ให้ข้อมูลเป็นบุคลากรของโรงพยาบาลจำนวน 35คน รวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ตามกรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพของโดนาบีเดียน (Donabedian, 2003) ที่มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านโครงสร้าง 2) ด้านกระบวนการ 3) ด้านผลลัพธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ด้านโครงสร้างหน่วยงานอุบัติเหตุละฉุกเฉินของโรงพยาบาลเวียงแหง ไม่มีโครงสร้างองค์กรโดยเฉพาะสำหรับการบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดมีการจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นอย่างไรก็ตามพบว่ามีการเบิกจ่ายพัสดุล่าช้า เนื่องจากขาดการวางแผนงบประมาณที่เหมาะสมนอกจากนั้นยังพบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรพยาบาล ข้อเสนอแนะคือการจัดให้มีอุปกรณ์ที่จำเป็นรวมทั้งอัตรากำลังบุคลากรอย่างพอเพียง ตลอดจนควรสนับสนุนให้บุคลากรของโรงพยาบาลได้เพิ่มพูนความรู้และทักษะ 2. ด้านกระบวนการ การบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือการค้นหาความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง และการประเมินผล ปัญหาที่พบคือ การขาดความตระหนักในการรายงานอุบัติการณ์ การประเมินความรุนแรงของความเสี่ยงไม่ถูกต้อง ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพไม่พอเพียงและการไม่ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ข้อเสนอแนะคือ 1) การสร้างความตระหนักแก่บุคลากรของโรงพยาบาลในการรายงานอุบัติการณ์ 2) การให้ความรู้แก่บุคลากรของโรงพยาบาลเกี่ยวกับความรุนแรงของความเสี่ยงและการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ 3) การกระตุ้นให้บุคลากรของโรงพยาบาลปฏิบัติตามแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่ายังคงเกิดอุบัติการณ์ของการถูกเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินของโรงพยาบาลแห่งนี้ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดของหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผู้บริหารของโรงพยาบาล และผู้บริหารทางการพยาบาลควรนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนากลยุทธ์ในการพัฒนาการบริหารความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำ และของมีคมบาดต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)172.52 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract165.85 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS2.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.