Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศาสตราจารย์ ดร. อารีวรรณ กลั่นกลิ่น | - |
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมใจ ศิระกมล | - |
dc.contributor.author | พวงเพ็ชร ชัยยาทา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-05T02:03:20Z | - |
dc.date.available | 2016-07-05T02:03:20Z | - |
dc.date.issued | 2558-05 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39314 | - |
dc.description.abstract | competency is important for human resource management and quality service development . Professional nurse should be able to perform nursing care within their identified scope of practice. The purpose of this developmental study was to develop a competency framework for registered nurses in Neonatal and Pediatric Intensive Care Unit, Lamphun Hospital, based on the framework by Draganidis and Mentzas (2006). The studied population consisted of 2 groups: 1) the competency system development team and 2) 12 registered nurses; and the sample use was the competency approveal team. The research instruments used for this study were: 1) a competency list record form; 2) a personal information interview; 3) the competency guidelines of the focus group; and 4) a competency framework evaluation form. The data analysis consisted of content analysis and calculation of content validity index. The results of the study revealed that the Competency Framework for registered nurses in the Neonatal and Pediatric Intensive Care Unit, Lamphun Hospital consisted of 42 competency behavioral indicators, which were divided into 4 parts as follows: 1) basics of neonatal nursing care (11 items); 2) nursing care of neonatal infants in crisis phase (12 items); 3) pediatric nursing care in crisis phase consisted of 12 items 4) neonatal and pediatric nursing care in end stage of life consisted of 7 items. Nursing administrators at Lamphun Hospital could use this competency framework for annual performance evaluation to provide insight into the areas most important for a professional nurse’s development. Furthermore, professional nurses could use this competency framework to evaluate their own performance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนากรอบสมรรถนะสำหรับพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาล ทารกแรกเกิดและเด็กวิกฤต โรงพยาบาลลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Development of a Competency Framework for Registered Nurses in Neonatal and Pediatric Intensive Care Unit, Lamphun Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | สมรรถนะของบุคลากรมีความสำคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคลและพัฒนาคุณภาพบริการ พยาบาลวิชาชีพจึงจำเป็นต้องมีความสามารถในการให้การพยาบาลผู้ป่วยภายใต้ขอบเขตที่กำหนด การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลทารกแรกเกิดและเด็กวิกฤต โรงพยาบาลลำพูน โดยประยุกต์ใช้การพัฒนากรอบสมรรถนะของ ดรากานิดิส และ เมนท์แซส (Draganidis & Mentzas, 2006) ศึกษาในกลุ่มประชากรจำนวน 2 กลุ่มคือ 1) กลุ่มทีมพัฒนาระบบสมรรถนะ จำนวน 4 คน และ 2) กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ที่ใช้ในการประชุมกลุ่ม จำนวน 12 คน และกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1 กลุ่ม คือ ผู้ตรวจสอบกรอบสมรรถนะ จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบบันทึกรายการสมรรถนะ 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3) แนวคำถามที่ใช้ในการประชุมกลุ่มเกี่ยวกับสมรรถนะ 4) แบบประเมินกรอบสมรรถนะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และการหาค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเป็นรายข้อ ผลการศึกษาพบว่า กรอบสมรรถนะสำหรับพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลทารกแรกเกิดและเด็กวิกฤต โรงพยาบาลลำพูน ประกอบด้วย 42 พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านการพยาบาลทารกแรกเกิดขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 11 ข้อ 2) ด้านการพยาบาลทารกแรกเกิดในภาวะวิกฤต ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 12 ข้อ 3) ด้านการพยาบาลผู้ป่วยเด็กในภาวะวิกฤต ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 12 ข้อ 4) ด้านการพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิดและเด็กระยะสุดท้าย ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 7 ข้อ ผู้บริหารทางการพยาบาลในโรงพยาบาลลำพูน สามารถประยุกต์ใช้กรอบสมรรถนะในการสร้างแบบประเมินสมรรถนะเฉพาะสำหรับพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลทารกแรกเกิดและเด็กวิกฤต โรงพยาบาลลำพูนนอกจากนี้พยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลทารกแรกเกิดและเด็กวิกฤต โรงพยาบาลลำพูน สามารถใช้กรอบสมรรถนะนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะเฉพาะที่เหมาะสมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
abstract.docx | Abstract (words) | 171.29 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 163.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
full.pdf | Full IS | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.