Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39313
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลวดี อภิชาติบุตร | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.อรอนงค์ วิชัยคำ | - |
dc.contributor.author | ผ่องพรรณ พิงคะสัน | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-04T09:03:08Z | - |
dc.date.available | 2016-07-04T09:03:08Z | - |
dc.date.issued | 2558-05 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39313 | - |
dc.description.abstract | Competency is a significant factor in providing good quality service. A competency framework is a set of professional guidelines which also assists in the self-development of registered nurses. The purpose of this developmental study was to develop a competency framework for operating room registered nurses in Lamphun Hospital based on the framework by Draganidis and Mentzas (2006). The sample consisted of 3 groups: 1) 3 nurses in the competency development team, 2) 5 nurses in the expert group, and 3) 5 nurses in the competency evaluation group. The research instrument used for this study was an interview guides. The data collection process included: 1) the creation of a competency systems team, 2) the identification of performance metrics, 3) the development of a tentative competencies list, 4) the definition of competency and behavioral indicators, 5) the development of an initial competency model, 6) the cross-checking of the initial model, and finally 7) model refinement. The data were analyzed using descriptive statistics and the calculation of content validity index. The results of the study revealed that the competency framework for professional nurses in the operating room of Lamphun Hospital consisted of 5 competencies and 39 behavioral indicators as follows: 1) the nursing care for patient safety competency which consisted of 13 behavioral indicators, 2) the management competency which consisted of 7 behavioral indicators, 3) the nursing care for patient undergoing surgery competency which consisted of 11 behavioral indicators, 4) the patient and family rights advocacy competency which consisted of 5 behavioral indicators, and 5) the hospital registration and information recording systems competency which consisted of 3 behavioral indicators. Nurse administrators can apply this competency framework as a guideline for assessing and developing the competency inventory of registered nurses in the operating room. Nurses in the operating room can use this competency framework as a guideline for improving their work ability. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนากรอบสมรรถนะสำหรับพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัด โรงพยาบาลลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Development of a Competency Framework for Operating Room Registered Nurses, Lamphun Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | สมรรถนะเป็นปัจจัยสำคัญในการให้บริการที่มีคุณภาพ กรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัด โรงพยาบาลลำพูนโดยใช้รูปแบบการพัฒนากรอบสมรรถนะของดรากานิดิสและเมนท์แซส (Draganidis & Mentzas, 2006) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 3 กลุ่มคือ 1) ทีมพัฒนาสมรรถนะ จำนวน 3 คน 2) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และ 3) กลุ่มตรวจสอบสมรรถนะ จำนวน 5 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้ คือ แนวคำถามการประชุมกลุ่ม ขั้นตอนการเก็บข้อมูลประกอบด้วย 1) การจัดตั้งทีมงานระบบสมรรถนะ 2) การกำหนดเกณฑ์ที่ใช้วัดการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3) การพัฒนารายการสมรรถนะที่เป็นไปได้ 4) การให้ความหมายสมรรถนะแต่ละสมรรถนะพร้อมกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถของแต่ละสมรรถนะ 5) การพัฒนากรอบสมรรถนะเบื้องต้น 6) การตรวจสอบกรอบสมรรถนะที่ได้ 7) การปรับรูปกรอบสมรรถนะอย่างละเอียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการหาค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเป็นรายข้อ ผลการศึกษา พบว่ากรอบสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัดโรงพยาบาลลำพูนประกอบด้วยสมรรถนะ 5 ด้าน และมีพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จำนวน 39 ข้อ ดังนี้ 1) สมรรถนะด้านการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยผ่าตัด ประกอบด้วย พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 13 ข้อ 2) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการ ประกอบด้วย พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 7 ข้อ 3) สมรรถนะด้านการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัด ประกอบด้วย พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 11 ข้อ 4) สมรรถนะด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและครอบครัว ประกอบด้วย พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 5 ข้อ และ 5) สมรรถนะด้านการบันทึกในเวชระเบียนและระบบข้อมูลของโรงพยาบาลประกอบด้วย พฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจำนวน 3 ข้อ ผู้บริหารทางการพยาบาลโรงพยาบาลลำพูน สามารถนำกรอบสมรรถนะที่ได้ไปเป็นแนวทางการสร้างแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัด ส่วนพยาบาลห้องผ่าตัดสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการทำงานของตน | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.doc | Abstract (words) | 74.5 kB | Microsoft Word | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 235.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
full.pdf | Full IS | 4.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.