Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorจุฑามาส อินจำนงen_US
dc.date.accessioned2016-06-24T08:27:13Z-
dc.date.available2016-06-24T08:27:13Z-
dc.date.issued2558-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39299-
dc.description.abstractThe study of "The Gross Happiness Index Formulation of Mae Hong Son Province" aims to formulate the Gross Happiness Index of Mae Hong Son Province. The samples consist of Thai populations who live in Mae Hong Son Province and have been recorded in population data base in 2013. The sample population are randomly chosen for 400 person. The analytical tool is Questionnaires Method separate into 2 parts, sampling populations' information and Happiness Index, covering the focused factors. The result of the study found that the majority of sample were characterized as male (51.50 percent), in the age category of 25 - 39 year (47.75 percent), married (55.25 percent), had a High Vocational Certificate education (29.0 percent), work in a field of government service (43.25 percent), Buddhist (56.50 percent) and had average income of 10,000 baht per month (60.75 percent) The Factors Analysis of Mae Hong Son Province Happiness Index consisted of 5 components which were Component 1 "Self - actualization" consisted of 9 variables, Eigen values as 5.763 and Percentage of Variance as 19.211. Component 2 "Social Belonging Needs" consisted of 7 variables, Eigen values as 4.243 and Percentage of Variance as 14.144. Component 3 "Democratization" consisted of 6 variables, Eigen values as 4.041 and Percentage of Variance as 13.469. Component 4 "Quality of Life" consisted of 6 variables, Eigen values as 3.761 and Percentage of Variance as 12.535. Component 5 "Family Relationship" consisted of 2 variables, Eigen values as 2.113 and Percentage of Variance as 7.042.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดทำดัชนีความสุขมวลรวมจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeThe Gross Happiness Index Formulation of Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัย เรื่อง "การจัดทำดัชนีความสุขมวลรวมจังหวัดแม่ฮ่องสอน" มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำดัชนีความสุขมวลรวมของประชาชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรเป้าหมายในจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่มีถิ่นที่อยู่ปรากฏในฐานทะเบียนราษฎร ปี พ.ศ. 2556 โดยการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม (Questionnaires Method) โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม และส่วนที่ 2 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดความสุขในด้านต่างๆ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequencies) และการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยเป็นเพศชาย 206 ราย (ร้อยละ 51.50) โดยส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 25 - 39 ปี (ร้อยละ 47.75) สถานภาพสมรส (ร้อยละ 55.25) จบการศึกษาในระดับอนุปริญญาหรือ ปวส. (ร้อยละ 29.0) ประกอบอาชีพรับราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ร้อยละ 43.25) โดยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 56.50) และมีรายได้ไม่เกิน 10,000 บาทต่อเดือน (ร้อยละ 60.75) การวิเคราะห์องค์ประกอบของการจัดทำดัชนีความสุขมวลรวมจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ เรียงตามลำดับความสำคัญ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 "การบรรลุเป้าหมายส่วนตน" ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 9 ตัวแปร ค่า ความแปรปรวนของตัวแปร 5.763 และค่าร้อยละของความแปรปรวน 19.211 องค์ประกอบที่ 2 "ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมชุมชน" ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 7 ตัวแปร ค่าความแปรปรวนของตัวแปร 4.243 และค่าร้อยละของความแปรปรวน 14.144 องค์ประกอบที่ 3 "ความเป็นประชาธิปไตย" ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 6 ตัวแปร ค่าความแปรปรวนของตัวแปร 4.041 และค่าร้อยละของความแปรปรวน เท่ากับ 13.469 องค์ประกอบที่ 4 "คุณภาพชีวิต" ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 6 ตัวแปร ค่าความแปรปรวนของตัวแปร 3.761 และค่าร้อยละของความแปรปรวน เท่ากับ 12.535 องค์ประกอบที่ 5 "ความสัมพันธ์ในครอบครัว" ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 2 ตัวแปร ค่าความแปรปรวนของตัวแปร 2.113 และค่าร้อยละของความแปรปรวน 7.042en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docAbstract (words)191 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract224.97 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS2.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.