Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.ทพญ. กันยารัตน์ คอวนิช-
dc.contributor.advisorอ.ดร.ทพ. นฤมนัส คอวนิช-
dc.contributor.authorพริมรตาพร สาดสีen_US
dc.date.accessioned2016-06-24T08:27:05Z-
dc.date.available2016-06-24T08:27:05Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39298-
dc.description.abstractThis descriptive study was conducted to achieve two main purposes. The first was to identify a relationship between the factors affecting eruption of the permanent first molars and the average number of permanent first molar erupted in students studying in grade 1 in Mueang District, Uttaradit Province. The second purpose was to investigate the number of permanent first molar erupted in oral cavity of the study samples. The study was performed in a group of 368 students sampled by stratified random selection. Data was collected during August to October 2014. Data analysis was implemented using descriptive statistics, Mann Whitney U Test and Logistic Regression. The result showed that the grade 1 students with sealable permanent first molar had an average of 2.5±1.4 teeth per person. Around 38% of the children had 4 sealable permanent first molars, 16.3% had 3 sealable permanent first molars, 20.1% had 2 sealable permanent first molars, 7.6% had 1 sealable permanent first molar, and 17.1% had no sealable permanent first molar. A significant correlation (p-value<0.05) was found between social status, weight to height nutritional status and number of students who had at least 1 sealable permanent first molars. With other factors controlled, the probability of low socioeconomic status students having at least 1 sealable permanent first molars was 0.48 times less than those with the higher one (OR=0.482; 95%CI=0.279-0.843). Additionally, by controlling other factors, students who were considered as poor nutritional status by weight to height criteria were likely to have 0.4 times less in having at least one sealable permanent first molar than those with normal or high nutritional values (OR=0.40; 95% CI=0.21-0.77). The information obtained from this research underlined that the majority of study samples do not have 4 sealable permanent first molars. The study also indicates that social status and nutritional status influences the number of sealable permanent first molar in the study samples. The conclusions can be used further intervention in Public Health Dentistry.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและจำนวนการขึ้นเฉลี่ย ของฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่ง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์en_US
dc.title.alternativeRelationships Between Factors and Average Number of Erupted Permanent First Molar Tooth of Elementary Students in Mueang District, Uttaradit Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาโดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ประการ คือ ประการแรกเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับจำนวนการขึ้นเฉลี่ยของฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ประการที่สองเพื่อสำรวจจำนวนการขึ้นเฉลี่ยของฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีกลุ่มตัวอย่างการศึกษาครั้งนี้จำนวน 368 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกระดับการขึ้นของฟันแท้ ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยการทดสอบ Mann Whitney U test และสถิติ Logistic Regression ผลการศึกษาพบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่ง มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้มีจำนวนเฉลี่ย 2.5±1.4 ซี่ต่อคน ส่วนใหญ่มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ 4 ซี่ ร้อยละ 38.3 รองลงมาคือ มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ 2 ซี่ ร้อยละ 20.1 ไม่มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ ร้อยละ 17.1 มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ 3 ซี่ ร้อยละ 16.8 มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ 1 ซี่ ร้อยละ 7.6 และพบว่าภาวะความยากจน และภาวะโภชนาการโดยใช้เกณฑ์น้ำหนักตามส่วนสูง มีความสัมพันธ์กับจำนวนนักเรียนที่มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันอย่างน้อย 1 ซี่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) เมื่อควบคุมตัวแปรอื่นๆ แล้วพบว่า มีโอกาสที่ นักเรียนซึ่งมีภาวะความยากจนจะมีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันอย่างน้อย 1 ซี่น้อยกว่านักเรียนที่ไม่มีภาวะความยากจนเป็น 0.48 เท่า (OR=0.48; 95% CI=0.287-0.84) และพบว่า มีโอกาสที่นักเรียนซึ่งมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์จะมีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันอย่างน้อย 1 ซี่น้อยกว่านักเรียนที่มีภาวะโภชนาการปกติหรือสูงกว่าเกณฑ์เป็น 0.40 เท่า (OR= 0.40; 95% CI=0.21-0.77) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ที่ศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งมีจำนวนฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันได้ขึ้นในช่องปากไม่ครบ 4 ซี่โดยมีภาวะความยากจนและภาวะโภชนาการตามเกณฑ์น้ำหนักตามส่วนสูงสัมพันธ์กับจำนวนนักเรียนที่มีฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งที่สามารถเคลือบหลุมร่องฟันอย่างน้อย 1 ซี่ และสามารถใช้ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านทันตสาธารณสุขต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docxAbstract (words)173.27 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract245.54 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.