Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39288
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ อังสนา ธงไชย-
dc.contributor.authorธนะพันธุ์ การคนซื่อen_US
dc.date.accessioned2016-03-08T08:55:13Z-
dc.date.available2016-03-08T08:55:13Z-
dc.date.issued2557-10-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39288-
dc.description.abstractThis research had the objectives of investigating on books that were used in a high frequency and those that were used in less frequency as well as surveying the major resources used in the Central Library of Chiang Mai University. This was a quantitative research based on a survey from the circulation statistics of the Central Library, faculty libraries and those of centers and institutes of Chiang Mai University, which involved 21 libraries altogether during 2012-2013. The research population consisted of 469,497 books in Thai and foreign languages, not including reference books, theses, dissertations, textbook and curriculum, reserved books, government printed materials, northern material collections, novels, short stories and books undergoing mending. The tools used in the research were a data recording form and interview form and the data was analyzed using frequency distribution, percentile and description of the interview results. The research results showed that book circulation of the Central Library was 76.9% whereas 23.07% were not borrowed. However, the circulation at the other libraries (faculty, center and institute libraries) was 76.93%. When classified by categories, it was found that all faculties and institutes had shown high statistics of circulation in the categories that corresponded to the content of the curriculum or courses offered in the respective faculties or the nature of the work of the institutes. As for the Central Library, the circulation was rather close in all categories. When classified by language, more books in the Thai language were checked out from the libraries of the Demonstration School, Faculty of Education and Faculty of Business Administration respectively. Books published in 2000-2009 had a higher frequency of circulation than those of other years. The highest frequency of books checked out from the Central Library of CMU was 1-50 times. The results indicated that the Central Library of CMU was able to acquire books corresponding to the curriculum and courses offered at the university and meet the needs of the different groups of users from various faculties for their specialization and types of materials. This, therefore, confirms that the Central Library and the libraries of the faculties, centers as well as institutes of CMU had an efficiency in budget management to cost-effectively acquire their information resources.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสถิติการยืมหนังสือen_US
dc.titleการประเมินหนังสือจากสถิติการยืมในสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAssessment on book collections from circulation statistics at Chiang Mai University Libraryen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc025.62-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุด--การจ่ายรับ-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดและบริการของห้องสมุด-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สำนักหอสมุด-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 025 ธ1511ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหนังสือที่มีการใช้มาก และมีการใช้น้อยจากสถิติการยืมหนังสือในสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณแบบสำรวจ โดยศึกษาสถิติการยืมหนังสือของห้องสมุดกลาง ห้องสมุดคณะ และห้องสมุดสถาบัน ทั้งหมดรวม 21 แห่ง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ หนังสือทั่วไปทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ จำนวน 469,497 เล่ม โดยไม่นับรวมหนังสืออ้างอิง วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ หนังสือแบบเรียนและหลักสูตร หนังสือสำรอง สิ่งพิมพ์รัฐบาล สิ่งพิมพ์ภาคเหนือ นวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือที่อยู่ระหว่างการซ่อม ช่วงระยะเวลาการยืมที่ใช้ในการศึกษา คือ พ.ศ. 2555 – พ.ศ.2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูล และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ และพรรณนาผลการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า มีการยืมหนังสือจากสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คิดเป็นร้อยละ 76.90 และไม่มีการยืมจำนวน ร้อยละ 23.07 และเมื่อแยกตามห้องสมุด พบว่ามีสถิติการยืมในแต่ละคณะและสถาบัน คือ ร้อยละ 76.93 ของหนังสือที่มีในห้องสมุด เมื่อแยกตามหมวดหมู่พบว่าทุกคณะมีสถิติการยืมหนังสือมากในหมวดหมู่ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนตามคณะและการใช้งานในสถาบันนั้นๆ สำหรับห้องสมุดกลางพบว่ามีการยืมกลุ่มหนังสือใกล้เคียงกันทุกหมวดหมู่ เมื่อแยกจำนวนการยืมตามภาษา พบว่าห้องสมุดที่ผู้ใช้นิยมยืมหนังสือภาษาไทยมากกว่าภาษาต่างประเทศ 3 ลำดับแรกได้แก่ ห้องสมุดศูนย์วิชาการโรงเรียนสาธิต ห้องสมุดคณะศึกษาศาสตร์ และห้องสมุดคณะบริหารธุรกิจ ตามลำดับ และในส่วนของห้องสมุดที่ผู้ใช้นิยมยืมหนังสือภาษาต่างประเทศมากกว่าภาษาไทย 3 ลำดับแรก ได้แก่ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ รองลงมาคือ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ และห้องสมุดคณะอุตสาหกรรมเกษตร ตามลำดับ สำหรับหนังสือที่จัดพิมพ์ระหว่างปีพิมพ์ พ.ศ. 2543-2552 จะมีจำนวนครั้งในการยืมมากกว่าหนังสือที่ตีพิมพ์ในช่วงระยะเวลาอื่นๆ และหนังสือในสำนักหอสมุดมีความถี่ในการยืมหนังสือมากที่สุดคือ จำนวน 1-50 ครั้ง ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถจัดหาหนังสือได้สอดคล้องกับหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสามารถสนองตอบต่อความต้องการของผู้ใช้แต่ละกลุ่มที่มีความต้องการเอกสารเฉพาะสาขาวิชาในคณะต่างๆ แสดงให้เห็นว่าห้องสมุดกลาง ห้องสมุดคณะ และห้องสมุดสถาบัน มีการบริหารจัดการงบประมาณในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT167.21 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX867.32 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1273.41 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2472.62 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3388.75 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5372.28 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT259.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER506.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE346.75 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.