Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37794
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นันทิการ์ สันสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | ณัฐาศักดิ์ อัครเมธาพัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-02-18T10:32:00Z | - |
dc.date.available | 2015-02-18T10:32:00Z | - |
dc.date.issued | 2014-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37794 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูหลังจากการผ่าตัดบริเวณหลังใบหู เปรียบเทียบตำแหน่งของใบหูที่สูญเสียความรู้สึกก่อน และหลังจากการผ่าตัด ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ระเบียบวิธีวิจัย : ศึกษาในผู้ป่วยที่ผ่าตัดบริเวณหลังใบหูตั้งแต่อายุ 10 ปีขึ้นไป ณ แผนก หู คอ จมูก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 – 1 พฤษจิกายน พ.ศ. 2556 โดยผู้ป่วยแต่ละคนจะได้รับการเก็บข้อมูล ตรวจระดับการรับความรู้สึกของใบหูด้วย Semmes–Weinstein monofilaments (SWMF) เพื่อหาค่า pressure threshold และตรวจด้วย Visual Analog Scale (VAS) ก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษา : มีผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษา 62 รายที่ได้รับการวัดความรู้สึกบริเวณใบหู พบว่าในช่วงเดือนแรก ผู้ป่วยมีอาการชาหูมากขึ้นทั้งที่วัดจากแรงกดจาก SWMF และจากการบอกกล่าวของผู้ป่วย (VAS) โดยค่าการเปลี่ยนแปลงการรับความรู้สึกนี้ ตำแหน่งส่วนบนของใบหูจะรับความรู้สึกลดลงได้มากที่สุด ปัจจัยอายุ วิธีการผ่าตัด ระยะเวลาผ่าตัด ไม่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูอย่างมีนัยสำคัญ หลังผ่าตัดบริเวณหลังใบหู 3 เดือนมีผู้ป่วย 13% ที่มีการรับความรู้สึกสัมผัสลดลงไม่กลับมาเป็นปกติ สรุป : ปัจจัยเรื่องอายุ วิธีการผ่าตัด ระยะเวลาผ่าตัด ไม่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูอย่างมีนัยสำคัญ โดยช่วง 1 เดือนแรกหลังผ่าตัด ตำแหน่งใบหูส่วนบนและหลังใบหูมีการรับความรู้สึกลดลงมาก เพราะมีการลงแผลผ่าตัดบริเวณหลังใบหูและขยายรูหู ซึ่งเป็นทางผ่านของ lesser occipital nerve, great auricular nerve และ auricular branches of vagus nerve เมื่อติดตามการรักษาหลังจากผ่าตัด 3 เดือนพบว่ามีการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูกลับมาปกติประมาณ 90 %จากผู้ป่วยทั้งหมด | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูหลังจากการผ่าตัดบริเวณหลังใบหูเป็นระยะเวลา 3 เดือน | en_US |
dc.title.alternative | Factors of auricular sensation recovery following post-auricular incision for 3 months | en_US |
thailis.classification.ddc | 617.8 | - |
thailis.controlvocab.thash | หู -- ศัลยกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | หู -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 617.8 ณ113ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูหลังจากการผ่าตัดบริเวณหลังใบหู เปรียบเทียบตำแหน่งของใบหูที่สูญเสียความรู้สึกก่อน และหลังจากการผ่าตัด ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ระเบียบวิธีวิจัย : ศึกษาในผู้ป่วยที่ผ่าตัดบริเวณหลังใบหูตั้งแต่อายุ 10 ปีขึ้นไป ณ แผนก หู คอ จมูก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 – 1 พฤษจิกายน พ.ศ. 2556 โดยผู้ป่วยแต่ละคนจะได้รับการเก็บข้อมูล ตรวจระดับการรับความรู้สึกของใบหูด้วย Semmes–Weinstein monofilaments (SWMF) เพื่อหาค่า pressure threshold และตรวจด้วย Visual Analog Scale (VAS) ก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดทุกเดือนเป็นระยะเวลา 3 เดือน ผลการศึกษา : มีผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษา 62 รายที่ได้รับการวัดความรู้สึกบริเวณใบหู พบว่าในช่วงเดือนแรก ผู้ป่วยมีอาการชาหูมากขึ้นทั้งที่วัดจากแรงกดจาก SWMF และจากการบอกกล่าวของผู้ป่วย (VAS) โดยค่าการเปลี่ยนแปลงการรับความรู้สึกนี้ ตำแหน่งส่วนบนของใบหูจะรับความรู้สึกลดลงได้มากที่สุด ปัจจัยอายุ วิธีการผ่าตัด ระยะเวลาผ่าตัด ไม่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูอย่างมีนัยสำคัญ หลังผ่าตัดบริเวณหลังใบหู 3 เดือนมีผู้ป่วย 13% ที่มีการรับความรู้สึกสัมผัสลดลงไม่กลับมาเป็นปกติ สรุป : ปัจจัยเรื่องอายุ วิธีการผ่าตัด ระยะเวลาผ่าตัด ไม่มีผลต่อการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูอย่างมีนัยสำคัญ โดยช่วง 1 เดือนแรกหลังผ่าตัด ตำแหน่งใบหูส่วนบนและหลังใบหูมีการรับความรู้สึกลดลงมาก เพราะมีการลงแผลผ่าตัดบริเวณหลังใบหูและขยายรูหู ซึ่งเป็นทางผ่านของ lesser occipital nerve, great auricular nerve และ auricular branches of vagus nerve เมื่อติดตามการรักษาหลังจากผ่าตัด 3 เดือนพบว่ามีการฟื้นฟูสภาพการรับความรู้สึกของใบหูกลับมาปกติประมาณ 90 %จากผู้ป่วยทั้งหมด | en_US |
Appears in Collections: | MED: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 190.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 202.09 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 239.13 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 358.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 448.48 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 163.07 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 249.29 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 507.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 131.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.