Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37787
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชิต สิทธิไตรย์ | - |
dc.contributor.author | รุจน์ ตั้งกีรติชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-02-18T10:09:40Z | - |
dc.date.available | 2015-02-18T10:09:40Z | - |
dc.date.issued | 2014-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37787 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการล้างจมูกด้วยน้ำเกลือโดยวิธีพ่นจมูกและวิธีสวนล้างจมูกในผู้ป่วยจมูกอักเสบเรื้อรัง ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เพื่อให้ทราบแนวทางที่เหมาะสมในการใช้น้ำเกลือล้างจมูก ของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ระเบียบวิธีวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นจมูกอักเสบเรื้อรัง มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556 ถึง 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 จำนวน 40 คน ผู้ป่วยจะได้รับการสุ่มลำดับก่อนหลัง ของการใช้น้ำเกลือล้างจมูกแต่ละวิธี ได้แก่ การพ่น และ การสวนล้างจมูก โดยมีระยะเวลา วิธีละ 2 สัปดาห์ จากนั้นผู้ป่วยจะได้รับการพัก การล้างจมูก เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ก่อนจะเริ่มการล้างจมูกอีกวิธีที่ไม่ได้ใช้ในตอนแรก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม และ ตรวจการทำงานของขนกวัดด้วย “Saccharin test” ก่อนเริ่มการล้างจมูก และ หลังการล้างจมูก ด้วยวิธีการล้างจมูกทั้ง 2 วิธี ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาจำนวน 40 คน ได้รับการล้างจมูกในครั้งแรก ด้วยวิธีสวนล้างจมูก และ วิธีพ่นจมูก วิธีละ 20 คน พบว่าผู้ป่วย หลังได้รับการล้างจมูกด้วยวิธีการทั้ง 2 วิธี มีอาการดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการล้างจมูก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) แต่การทำงานของขนกวัดระหว่างก่อนและหลังล้างจมูกในแต่ละวิธีที่ประเมินจาก “Saccharin test”ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อเปรียบเทียบผลระหว่างวิธีการล้างจมูกทั้งสองวิธี พบว่า อาการและการทำงานของขนกวัดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาพบว่า การล้างจมูกด้วยวิธีสวนล้าง มีผลข้างเคียงมากกว่าวิธีพ่นจมูกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพของการล้างจมูกด้วยน้ำเกลือโดยวิธีพ่นและวิธี สวนล้างจมูก ในผู้ป่วยจมูกอักเสบเรื้อรัง | en_US |
dc.title.alternative | Efficacy of saline nasal spray and saline nasal douche in persistent rhinitis patient | en_US |
thailis.classification.ddc | 616.212 | - |
thailis.controlvocab.thash | จมูก -- โรค | - |
thailis.controlvocab.thash | เยื่อจมูกอักเสบ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 616.212 ร425ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการล้างจมูกด้วยน้ำเกลือโดยวิธีพ่นจมูกและวิธีสวนล้างจมูกในผู้ป่วยจมูกอักเสบเรื้อรัง ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เพื่อให้ทราบแนวทางที่เหมาะสมในการใช้น้ำเกลือล้างจมูก ของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ระเบียบวิธีวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นจมูกอักเสบเรื้อรัง มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556 ถึง 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 จำนวน 40 คน ผู้ป่วยจะได้รับการสุ่มลำดับก่อนหลัง ของการใช้น้ำเกลือล้างจมูกแต่ละวิธี ได้แก่ การพ่น และ การสวนล้างจมูก โดยมีระยะเวลา วิธีละ 2 สัปดาห์ จากนั้นผู้ป่วยจะได้รับการพัก การล้างจมูก เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ก่อนจะเริ่มการล้างจมูกอีกวิธีที่ไม่ได้ใช้ในตอนแรก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม และ ตรวจการทำงานของขนกวัดด้วย “Saccharin test” ก่อนเริ่มการล้างจมูก และ หลังการล้างจมูก ด้วยวิธีการล้างจมูกทั้ง 2 วิธี ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาจำนวน 40 คน ได้รับการล้างจมูกในครั้งแรก ด้วยวิธีสวนล้างจมูก และ วิธีพ่นจมูก วิธีละ 20 คน พบว่าผู้ป่วย หลังได้รับการล้างจมูกด้วยวิธีการทั้ง 2 วิธี มีอาการดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการล้างจมูก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) แต่การทำงานของขนกวัดระหว่างก่อนและหลังล้างจมูกในแต่ละวิธีที่ประเมินจาก “Saccharin test”ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อเปรียบเทียบผลระหว่างวิธีการล้างจมูกทั้งสองวิธี พบว่า อาการและการทำงานของขนกวัดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาพบว่า การล้างจมูกด้วยวิธีสวนล้าง มีผลข้างเคียงมากกว่าวิธีพ่นจมูกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.001) | en_US |
Appears in Collections: | MED: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 197.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 201.78 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 164.27 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 292.76 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 294.91 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 159.94 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 157.73 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 495.61 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 135.91 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.