Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37680
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorผ่องศรี กติกาโชคสกุลen_US
dc.date.accessioned2015-02-03T07:58:30Z-
dc.date.available2015-02-03T07:58:30Z-
dc.date.issued2014-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37680-
dc.description.abstractชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง (โปว์) บ้านยองแหละ ตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ประสบปัญหาเกี่ยวกับไก่พื้นเมืองมีไม่เพียงพอต่อความต้องการนำไปใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม สาเหตุเพราะชาวบ้านขาดความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่พื้นเมืองใน 2 ประเด็น คือ 1) การเลี้ยงและการจัดการที่เหมาะสม และ 2) การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ไก่พื้นเมือง ดังนั้นการค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนที่เป็นองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่เหมาะสมกับชุมชนบนพื้นที่สูง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นชาวบ้านยองแหละ 4 คน โดยกระบวนการ SECI Model เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม ซึ่งใช้บันทึกประสบการณ์การเลี้ยงไก่ของชาวบ้าน 2) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ใช้เพื่อจับประเด็นความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่พื้นเมือง เรื่อง 1) การเลี้ยงและการจัดการที่เหมาะสม และ 2) การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา พบว่า ชาวบ้านสามารถนำองค์ความรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมืองไปประยุกต์ใช้ได้ จากผลการเปรียบเทียบข้อมูลการให้ผลผลิตของไก่พื้นเมือง การเลี้ยงโดยผ่านกระบวนการพัฒนาความสามารถให้ผลผลิตได้มากกว่าการเลี้ยงแบบดั้งเดิมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสังเคราะห์ความรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมืองบนพื้นที่สูง ชุมชนบ้านยองแหละ อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge synthesis on high ground chicken ritual Ban Yonglae Village Omkoi District, Chiang Maien_US
thailis.classification.ddc658.4038-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.controlvocab.thashการจัดการความรู้-
thailis.controlvocab.thashไก่พื้นเมือง -- การเลี้ยง -- เชียงใหม่. อำเภออมก๋อย-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.4038 ผ192ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง (โปว์) บ้านยองแหละ ตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ประสบปัญหาเกี่ยวกับไก่พื้นเมืองมีไม่เพียงพอต่อความต้องการนำไปใช้เพื่อประกอบพิธีกรรม สาเหตุเพราะชาวบ้านขาดความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่พื้นเมืองใน 2 ประเด็น คือ 1) การเลี้ยงและการจัดการที่เหมาะสม และ 2) การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ไก่พื้นเมือง ดังนั้นการค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนที่เป็นองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่เหมาะสมกับชุมชนบนพื้นที่สูง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นชาวบ้านยองแหละ 4 คน โดยกระบวนการ SECI Model เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม ซึ่งใช้บันทึกประสบการณ์การเลี้ยงไก่ของชาวบ้าน 2) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ใช้เพื่อจับประเด็นความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่พื้นเมือง เรื่อง 1) การเลี้ยงและการจัดการที่เหมาะสม และ 2) การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา พบว่า ชาวบ้านสามารถนำองค์ความรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมืองไปประยุกต์ใช้ได้ จากผลการเปรียบเทียบข้อมูลการให้ผลผลิตของไก่พื้นเมือง การเลี้ยงโดยผ่านกระบวนการพัฒนาความสามารถให้ผลผลิตได้มากกว่าการเลี้ยงแบบดั้งเดิมen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT189.91 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX2.06 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1215.37 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2476.96 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3201.82 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4402.6 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5254.11 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT195.52 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER542.18 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE306.52 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.