Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80229
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pathawee Khongkhunthian | - |
dc.contributor.advisor | Weerapan Aunmeungthong | - |
dc.contributor.author | Pawika Dansubutra | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-21T10:44:29Z | - |
dc.date.available | 2024-11-21T10:44:29Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80229 | - |
dc.description.abstract | Objectives: To compare the stability and success of dental implants placed in sockets preserved with alloplastic biomaterials to those placed in naturally healed sockets. Materials and Methods: Randomly recruited patients with single-rooted non-restorable teeth were separated into two groups. Both groups underwent minimally traumatic extraction. In the test group, socket preservation was performed using an alloplastic biomaterial called biphasic calcium phosphate (M bone, National Science and Technology Development Agency: NSTDA). The control group's socket was allowed to heal naturally. After 6 months of healing, dental implants were placed in the socket site. Implant stability was measured, and a periapical radiograph was taken on the day of implant placement, prosthesis loading day, 6 months, and 12 months after prosthesis loading. The data was analyzed to determine implant stability, success rate, and radiographic bone loss. Results: There is no significant difference in the implant stability quotient (ISQ) between the two groups during every follow-up period. However, when comparing within the control group, the ISQ at 6 and 12 months after prosthesis placement showed significant differences from the day of implant placement (p < 0.05). The ISQ in the test group increased over time, but not significantly. The implant success rate in the control group was 8 out of 10 implants, while in the test group, it was 8 out of 11 implants. There was no significant difference between the two groups (p = 1.00). Radiographic bone loss was observed during the 1-year follow-up after prosthesis loading, with the control group experiencing 0.33±0.31 mm of bone loss, and the test group experiencing 0.69±0.41 mm of bone loss. However, there was no statistically significant difference between the two groups. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Implant stability | en_US |
dc.subject | Implant success | en_US |
dc.subject | Socket preservation | en_US |
dc.subject | Alloplastic biomaterial | en_US |
dc.subject | Biphasic calcium phosphate | en_US |
dc.subject | M-Bone | en_US |
dc.title | The Stability and success of dental implants in extracted sockets preservation using alloplastic biomaterial: a randomized clinical trial | en_US |
dc.title.alternative | เสถียรภาพและความสำเร็จของรากฟันเทียมในกระดูกเบ้าฟันที่ถูกถอนไปโดยใช้วัสดุปลูกถ่ายเฉื่อย : การทดลองทางคลินิกแบบสุ่ม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Teeth -- Roots | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Endodontics | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Alveolectomy | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Alveolar process -- Surgery | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบเสถียรภาพและความสำเร็จของรากฟันเทียมในกระดูกเบ้าฟันที่ถูกถอนไปโดยใช้วัสดุปลูกถ่ายเฉื่อย กับรากเทียมในกระดูกเบ้าฟันที่แผลหายตามธรรมชาติ วัสดุและวิธีการ: การศึกษาด้วยการทดลองแบบสุ่มทางคลินิก แบ่งเป็น 2 กลุ่มการทดลอง คือ กลุ่มควบคุมซึ่งได้รับการถอนฟันแล้วปล่อยให้แผลหายตามธรรมชาติกับกลุ่มทดลองซึ่งได้รับการถอนฟันและการอนุรักษ์กระดูกเบ้าฟันที่ถูกถอนไปโดยใช้วัสดุปลูกถ่ายเฉื่อย จากนั้น 6 เดือนมาฝังรากฟันเทียม โดยวัดผลดูค่าเสถียรภาพ อัตราความสำเร็จของรากฟันเทียม และ การสูญสลายของขอบกระดูกหลังฝังรากฟันเทียม ในวันที่ฝังรากฟันเทียม, วันที่ใส่ครอบฟันบนรากฟันเทียม (12สัปดาห์หลังฝังรากฟันเทียม), 6 เดือน และ 12 เดือนหลังใส่ครอบฟันบนรากฟันเทียม ผลการศึกษา: ค่าเสถียรภาพของรากฟันเทียมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในระหว่างทุกช่วงการติดตามผล ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มควบคุมพบว่า ค่าเสถียรภาพของรากฟันเทียมที่ 6 และ 12 เดือนหลังจากใส่ครอบฟันบนรากฟันเทียมเพิ่มขึ้นจากวันที่ฝังรากฟันเทียมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) แต่ค่าเสถียรภาพของรากฟันเทียมภายในกลุ่มทดลองเมื่อเวลาผ่านไปไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่อัตราความสำเร็จของรากฟันเทียมในกลุ่มควบคุมเป็น8ใน10 และกลุ่มทดลองเป็น8ใน11 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 1.00) และพบการสูญเสียขอบกระดูกรอบรากฟันเทียมจากภาพถ่ายรังสีหลังติดตามไป 12 เดือนนับจากวันใส่ครอบฟันบนรากฟันเทียมในกลุ่มควบคุมเป็น 0.33±0.31 มิลลิเมตร และกลุ่มควบคุมเป็น 0.69±0.41 มิลลิเมตร ซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มสองกลุ่ม | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610931026-Pawika Dansubutra.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.