Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorShirley Worland-
dc.contributor.advisorTa-Wei Chu-
dc.contributor.authorMaw Day Myaren_US
dc.date.accessioned2024-11-20T01:26:21Z-
dc.date.available2024-11-20T01:26:21Z-
dc.date.issued2024-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80212-
dc.description.abstractArguably, in one of the most intensely conflicted areas in Burma (Myanmar), Karenni-based ethnic revolution organizations (EROs) have continued to fight against the military repression and state co-optation into becoming their own “Union's pawn” in the government propaganda for several decades. Over seven decades, different armed actors of Karenni resistance have fought against the heavy militarization of Burmese Military in the area. This continued armed conflict has its significance as autonomous resistance as well as flaws in its own resistance resulting from militarized patriarchy. The conflicts directly affect women’s daily experiences in different aspects of life. Displaced women, and children are at an increased risk during a humanitarian crisis. There is multiple pressure on women to find ways to meet the basic needs for themselves and the community (Hedstrom & Olivious, 2020). The situation affected by the military coup in February 2021 has also impacted hundreds of thousands of the population in Karenni State. The Karenni people have been forced to flee their villages due to clashes between the Burmese military and the local resistance groups (KNWO, 2022). According to the Kayan Women’s Organization (KyWO) brief report about women in Karenni State in June 2023, most of the area in Karenni are experiencing armed conflicts and women are facing different forms of human right violations and abuse. In this situation, women are losing their houses and property, suffering gender-based violence including sexual violence, harassment and domestic violence. The field work for this research was carried out through (15) key informant interviews, (4) life stories interviews, and (4) focus group discussions in addition to structural and unstructured observations. The theoretical concepts of the research underscore militarized patriarchy, exploitation of women in terms of gender division of labor and gender-based violence, and women’s agency. From the thematic analysis, utilized with the support of Max QDA software, the pattern of militarized patriarchy, the impact of war on women and the women’s resistance of militarized patriarchy emerged. Additionally, the research gained the deeper understanding of the experiences of women during conflicts in Karenni State through different aspects such as displacement, food crisis and water shortage, health, education and safety during times of war. Furthermore, the findings shed light on the adversities of Karenni women during war and displacements while resisting the internal system of militarized patriarchy. Despite the challenges, Karenni women are rising individually and collectively as Civil Society Organizations continue to play a significant role in strengthening the resilience of the Karenni Society by supporting women. The multifaceted challenges faced by Karenni women in a militarized patriarchal society, and the various strategies they employ to resist and survive within this system is collectively underscored.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleKarenni women’s resistance to the impact of militarized patriarchyen_US
dc.title.alternativeการต่อต้านของผู้หญิงชาวกะเรนนี ต่อผลกระทบของระบอบปิตาธิปไตยทหารen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshWomen -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshPatriarchy -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshViolence -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshHuman rights -- Burma-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractณ พื้นที่ที่มีความขัดแย้งรุนแรงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศพม่า(เมียนมา), องค์กรปฏิวัติชาติพันธุ์ (EROs) ที่ตั้งอยู่ในเขตคะเรนนีได้ต่อสู้กับการกดขี่ของทหารและการร่วมมือของรัฐที่ทำให้พวกเขากลายเป็น "เบี้ย" ภายใต้การกดขี่ของรัฐบาลเป็นเวลาหลายทศวรรษ ตลอดระยะเวลากว่าเจ็ดทศวรรษ นักรบผู้มีอิทธิพลของคะเรนนีต่างได้ต่อสู้กับกองทัพทหารพม่าภายในพื้นที่ ในขณะที่สงครามยังคงดำเนินไปต่อเนื่องก็ได้แสดงให้เห็นถึงข้อบกพร่องของนักรบต่างๆในการปฎิบัติการอย่างไม่ถูกต้อง เช่น เกิดการปกครองแบบชายเป็นใหญ่หรือระบบปิตาธิปไตย ความขัดแย้งส่งผล กระทบโดยตรงต่อชีวิตประจำวันของผู้หญิงในหลายๆด้าน ผู้หญิงและเด็กที่ถูกพลัดถิ่นมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในช่วงวิกฤตการณ์ด้านมนุษยธรรม มีแรงกดดันหลายอย่างต่อผู้หญิงในการหาวิธีตอบสนองความต้องการพื้นฐานสำหรับตนเองและชุมชน หลังจากสถานการ์ณรัฐประหารในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2021 ยังคงส่งผลกระทบต่อประชากรหลายแสนคนในรัฐคะเรนนี ชาวคะเรนนีถูกบังคับให้หนีออกจากหมู่บ้านของตนเนื่องจากการปะทะกันระหว่างทหารพม่าและกลุ่มต่อต้านท้องถิ่น (KNWO, 2022 รายงาน). ตามรายงานสั้น ๆ จากองค์กรกลุ่มสตรีคะยาน(KYWO),ได้รายงานสถานการ์ณเกี่ยวกับผู้หญิงในรัฐคะเรนนีในช่วงเดือนมิถุนายนปี 2023 พื้นที่ส่วนใหญ่ในคะเรนนีประสบกับความขัดแย้งทางสงครามโดยเฉพาะผู้หญิงที่ต้องเผชิญกับการถูกละเมิดทางด้านสิทธิมนุษยชน การทารุณกรรมในหลายรูปแบบโดยสถานการณ์นี้ทำให้ผู้หญิงกำลังสูญเสียบ้านเรือน ทรัพย์สินและยังเผชิญกับความรุนแรงทางเพศ เช่น การข่มขืนและความรุนแรงในครอบครัว สำหรับการวิจัยนี้ดำเนินการผ่านการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก (15) ราย สัมภาษณ์เรื่องราวชีวิต (4) ราย และการสนทนากลุ่ม (4) ราย นอกจากนี้ยังมีการสังเกตทั้งแบบมีโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างอีกด้วย แนวคิดทางทฤษฎีของการวิจัยเน้นย้ำถึงการปกครองแบบทหารที่มีลักษณะชายเป็นศูนย์กลาง การเอารัดเอาเปรียบผู้หญิงในแง่ของการแบ่งงานตามเพศและความรุนแรงที่เกิดจากเพศ รวมถึงความสามารถในการตัดสินใจของผู้หญิงด้วย โดยผลการวิจัยได้รับการสนับสนุนจากซอฟต์แวร์ Max QDA แสดงให้เห็นว่านี่คือรูปแบบของปิตาธิปไตย ผลกระทบของสงครามต่อผู้หญิงและการต่อต้านของผู้หญิงต่อปิตาธิปไตยได้เกิดขึ้น นอกจากนี้ งานวิจัยยังได้เข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับการเผชิญการของผู้หญิงในช่วงความขัดแย้งในรัฐคะเรนนี ผ่านมุมมองต่างๆ เช่น การพลัดถิ่น วิกฤตอาหาร และการขาดแคลนน้ำ สุขภาพ การศึกษาและความปลอดภัยในช่วงสงคราม นอกจากนี้ ผลการศึกษาได้เปิดเผยถึงความยากลำบากของผู้หญิงคะเรนนีในช่วงสงครามและการพลัดถิ่น ขณะเดียวกันพวกเธอก็ต่อต้านระบบปิตาธปไตยที่มีการทหารเข้ามาเกี่ยวข้อง ถึงแม้จะมีความท้าทายแต่ผู้หญิงคะเรนนีต่างก็ลุกขึ้นทั้งในฐานะปัจเจกและร่วมกันในฐานะองค์กรภาคประชาสังคมที่มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคมคะเรนนีโดยผ่านการสนับสนุนผู้หญิง ความท้าทายหลากหลายที่ผู้หญิงคะเรนนีเผชิญในสังคมที่มีการทหารและลักษณะชายเป็นใหญ่ รวมถึงกลยุทธ์ต่างๆ ที่พวกเธอนำมาใช้ในการต่อต้านและอยู่รอดภายในระบบนี้ได้รับการเน้นย้ำร่วมกันอย่างชัดเจนen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640435811 Maw Day Myar (1).pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.