Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSaowaluck Yammuen-Art-
dc.contributor.advisorTrisadee Khamlor-
dc.contributor.authorNursaadah Syahro Fitriyahen_US
dc.date.accessioned2024-11-19T18:43:05Z-
dc.date.available2024-11-19T18:43:05Z-
dc.date.issued2024-08-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80207-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to determine the effect of Lactobacillus plantarum (L. plantarum) in rumen fermentation using in vitro gas production test parameters, pH, NH3 concentration, total VFA, individual VFA, degradability, and microbial mass yield (MBY) and to examine the effect of L. plantarum supplementation on goat milk production, milk composition, fatty acid profile and CLA content in goat milk. The in vitro gas production kinetics and rumen fermentation products were conducted using total mixed ration (TMR) supplemented with different concentrations of L. plantarum supplementation using rumen liquor from Thai native cattle. The experiment design was Completely Randomized Design (CRD). The in vitro procedure was completed using 200 mg DM of TMR from four different concentrations of L. plantarum; CON (without supplementation of L. plantarum), T1 (107 CFU.mL-1 of L. plantarum supplementation), T2 (108 CFU.mL-1) of L. plantarum supplementation), and T3 (109 CFU.mL-1 of L. plantarum supplementation). The samples were prepared in three replications and incubated for 96 hours for gas production. The in vitro rumen degradation experiment was done in four replications and incubated for 24 hours. In vitro gas production for 96 hours and gas production from insoluble fraction were improved in the T1 and T2 groups (P < 0.05). The in vitro dry matter and organic matter degradability, and true degradability were particularly enhanced in the T1 group compared to other treatments (P <0.05). The pH and NH3 in this study were significantly affected (P <0.05) with the T3 group producing the highest ammonia concentration and pH among other treatments. While individual VFA is not affected by the treatments, the total VFA concentration is affected by L. plantarum with T3 generating higher total VFA than other treatments. Additionally, the supplementation of L. plantarum lowered the A:P ratio in the higher-level supplementation group than the group without supplementation. Subsequently, the in vivo experiment was conducted using a randomized block design (RCBD) with the number of days in milk and milk yield serving as the blocking factors. Fifteen multiparous lactating Saanen goats (BW 41.77 ± 0.44 kg) were collected from the herds. There were three groups of five animals each containing the animals. The groups consist of control with no supplementation of L. plantarum; LP6 = supplementation of 106 CFU head-1 L. plantarum; and LP7 = supplementation of 107 CFU head-1 L. plantarum. The data of milk yield, milk composition, milk fatty acid profile, and CLA were analyzed using repeated measures. Milk yield (g/d), FCE (kg MY/kg DMI), milk fat (%), milk composition yield (g/d), total PUFA (%), and CLA (%) were higher in the LP7 group compared to other groups. The CLA (%) in LP7 groups increased from 0.024% to 0.618% during the study period. The DMI (kg/d), milk lactose (%), protein (%), total solid (%), and solid non-fat (%) were not adversely affected by the supplementation of L. plantarum. The supplementation at 107 CFU.head-1 L. plantarum could improve in vitro substrate digestibility and rumen fermentation products as well as lactation performance, and increase milk fat yield, total PUFA, and CLA, without any negative effects on dry matter intake. This result displayed L. plantarum as a safe strain of direct-fed microbial and beneficial both for animal and human health. The investigation of gut microbiota diversity from the rumen to the large intestine could be considered in further research.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectconjugated linoleic aciden_US
dc.subjectdairy goaten_US
dc.subjectgas productionen_US
dc.subjectLactobacillus plantarumen_US
dc.subjectrumen fermentationen_US
dc.titleEnriched Conjugated Linoleic Acid (CLA) content in goat milk production by Lactobacillus plantarum dietary supplementationen_US
dc.title.alternativeการผลิตน้ำนมแพะที่มีกรดลิโนเลอิกชนิดคอนจูเกตปริมาณสูงโดยการเสริม Lactobacillus plantarumen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshConjugated Linoleic Acid-
thailis.controlvocab.lcshLactobacillus plantarum-
thailis.controlvocab.lcshGoat milk-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของ Lactobacillus plantarum (L. plantarum) ต่อการย่อยสลายในกระเพาะรูเมนโดยใช้พารามิเตอร์คือ การผลิตก๊าซในหลอดทดลอง ค่า pH ความเข้มข้นแอมโมเนีย ปริมาณกรดไขมันที่ระเหยได้ ปริมาณกรดไขมันที่ระเหยได้แต่ละชนิด ความสามารถในการย่อยสลาย และปริมาณจุลินทรีย์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหมัก (Microbial Biomass Yield; MBY) และเพื่อศึกษาผลของการเสริม L. plantarum ต่อการผลิตน้ำนมแพะ องค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม กรดไขมันและปริมาณ Conjugated Linoleic Acid (CLA) ในน้ำนมแพะ การศึกษาจลนพลศาสตร์การผลิตก๊าซในหลอดทดลอง และ ผลิตภัตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายในกระเพาะรูเมน โดยใช้อาหารผสมครบส่วน (Total Mixed Ration; TMR) เสริมด้วย L. plantarum ในความเข้มข้นต่าง ๆ โดยใช้ของเหลวจากกระเพาะรูเมนจากโคพันธุ์พื้นเมืองของไทย ออกแบบการทดลองแบบ (CRD) ในการทดลองใช้ TMR DM 200 มก. และมีการเสริม L. plantarum ในความเข้มข้นที่แตกต่างกัน 4 ระดับ CON = ไม่มีการเสริมด้วย L. plantarum, T1 = เสริมด้วย L. plantarum 107 CFU.mL-1, T2 = เสริมด้วย L. plantarum 108 CFU.mL-1 และ T3 = เสริมด้วย L. plantarum 109 CFU.mL-1 เตรียมตัวอย่างจำนวน 3 ซ้ำ บ่มเป็นเวลา 96 ชั่วโมง เพื่อศึกษา การผลิตก๊าซ และ เตรียมตัวอย่างจำนวน 4 ซ้ำ บ่มเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อศึกษาการย่อยสลายภายในกระเพาะรูเมนในหลอดทดลอง จากการศึกษาพบว่าการผลิตก๊าซในหลอดทดลองเป็นเวลา 96 ชั่วโมง และ การผลิตก๊าซจากการย่อยสลายในส่วนที่ไม่ละลายน้ำเพิ่มขึ้นในกลุ่ม T1 และ T2 (P < 0.05) ความสามารถในการย่อยสลายวัตถุแห้ง อินทรีย์วัตถุ และการย่อยได้ที่แท้จริงเพิ่มขึ้นในกลุ่ม T1 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น ๆ (P < 0.05) กลุ่ม T3 มีความเข้มข้นของแอมโมเนีย และค่า pH สูงที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น ๆ (P < 0.05) ในขณะที่ VFA แต่ละชนิดไม่ได้แตกต่างจากกลุ่มอื่น แต่ปริมาณของ VFA ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกลุ่ม T3 สูงกว่ากลุ่มอื่น นอกจากนี้การเสริมด้วย L. plantarum ยังสามารถลดอัตราส่วน A:P ในกลุ่มที่ได้รับการเสริมในระดับที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับ กลุ่มที่ไม่ได้รับการเสริม ในส่วนของการศึกษาการทดลองในตัวสัตว์ได้ดำเนินการทดลองโดยใช้การออกแบบการทดลองเเบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) โดยใช้จำนวนวันที่ให้นม และปริมาณผลผลิตน้ำนมเป็นบล็อก แพะสายพันธุ์ซาเเนนที่เคยให้ลูกมาแล้ว จำนวน 15 ตัว (น้ำหนัก 41.77 ± 0.44 กก.) และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลรายตัว ทำการแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ตัว ประกอบด้วยกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการเสริม L. plantarum; LP6 = เสริมด้วย L. plantarum 106 CFU.head-1 และ LP7 = เสริมด้วย L. plantarum 107CFU.head-1 ข้อมูลผลผลิตน้ำนม องค์ประกอบน้ำนม กรดไขมันในน้ำนม และ CLA นำมาวิเคราะห์ผลผลิตน้ำนม (ก./วัน) FCE (กก. MY/กก. DMI) ไขมันน้ำนม (%) องค์ประกอบ น้ำนม (ก./วัน) PUFA ทั้งหมด (%) และ CLA (%) พบว่ากลุ่ม LP7 ปริมาณ CLA (%) สูงที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น CLA (%) ในกลุ่ม LP7 เพิ่มขึ้นจาก 0.024% เป็น 0.618% ในช่วงที่มีการศึกษา DMI (ก./วัน) แล็กโทสในน้ำนม (%) โปรตีน (%) ของแข็งทั้งหมด และ ของแข็งที่ไม่ใช่ไขมัน (%) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มที่มีการเสริมด้วย L. plantarum การเสริม L. plantarum 107 CFU.head-1 สามารถเพิ่มการย่อยสลายของสารตั้งต้นในหลอดทลอง และ ผลิตภัณฑ์จากการย่อยสลายในกระเพาะรูเมนได้ รวมถึงประสิทธิภาพการให้นม และเพิ่มปริมาณไขมันนม PUFA ทั้งหมด และ CLA โดยไม่มีผลเสียต่อการกินได้ของวัตถุแห้ง ดังนั้น L. plantarum จึงเป็นจุลินทรีย์ที่ปลอดภัย และสามารถให้กินได้โดยตรง เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของสัตว์และมนุษย์ โดยอาจมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหลากหลายของจุลินทรีย์ลำไส้ ในส่วนของตั้งเเต่กระเพาะไปจนถึงลำไส้ใหญ่en_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640831041_thesis_nursaadah_watermark.pdfmaster's degree thesis of 640831041963.4 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.