Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80191
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.advisorขวัญพนมพร ธรรมไทย-
dc.contributor.authorนิรัชพร เที่ยงใชยen_US
dc.date.accessioned2024-11-19T01:22:02Z-
dc.date.available2024-11-19T01:22:02Z-
dc.date.issued2024-09-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80191-
dc.description.abstractThe current gaming situation has led to significant issues, particularly among early adolescents, predisposing them to gaming addiction behaviors and associated problems. This experimental study aimed to investigate the effect of a resilience enhancement program on game addiction behaviors among early adolescents. The sample group consisted of 26 adolescents aged 13-15 years, including both males and females, who are studying in secondary education institutions in Chiang Mai province. The tools used in the research included 1) personal data questionnaires, 2) gaming addiction assessments, 3) assessments of psychological resilience in children, and 4) a resilience enhancement program based on the ideas of Gothberg (1995), comprising six sessions, 60-90 minutes at a time, conducted twice a week. Data were analyzed using inferential statistics, including the Wilcoxon signed rank test and the Mann–Whitney U test. The study found the following results: 1. Gaming addiction scores among early adolescents significantly decreased after participating in a resilience enhancement program for one month compared to before the program (p < .05). 2. Gaming addiction scores among the group that received a resilience enhancement program were significantly lower than those in the control group after one month (p < .05). The results of this study show a resilience enhancement program on game addiction behavior can reduce game-addicted behavior in early adolescence. Therefore, this program should be used to reduce game addiction behavior in this group further. en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความแข็งแกร่งในชีวิตen_US
dc.subjectพฤติกรรมติดเกมen_US
dc.subjectResilienceen_US
dc.subjectGame Addictionen_US
dc.subjectวัยรุ่นตอนต้นen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อพฤติกรรมติดเกมของวัยรุ่นตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEffect of a resilience enhancement program on game addiction behaviors among early adolescentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการติดเกมวิดีโอ-
thailis.controlvocab.thashเกมวิดีโอกับวัยรุ่น-
thailis.controlvocab.thashเกมวิดีโอ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสถานการณ์ของเกมในปัจจุบันก่อให้เกิดปัญหาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในวัยรุ่นตอนต้นส่งผลให้วัยรุ่นตอนต้นมีแนวโน้มที่จะเกิดพฤติกรรมติดเกมและมีปัญหาตามมาได้ การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อพฤติกรรมติดเกมของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นตอนต้นอายุ 13-15 ปี จำนวน 26 คน ทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่กำลังศึกษาในสถานศึกษาสังกัดพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบการติดเกม 3) แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจในเด็ก และ 4) โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อพฤติกรรมติดเกมซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิดของกรอทเบอร์ก (Gothberg, 1995) ประกอบด้วยการบำบัด 6 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 60-90 นาที ดำเนินกิจกรรม 2 ครั้งต่อสัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบสถิติวิลคอกชัน และการทดสอบสถิติแมน-วิทนีย์ ผลการศึกษาพบว่า 1.คะแนนพฤติกรรมติดเกมของวัยรุ่นตอนต้นหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต 1 เดือนต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) 2. คะแนนพฤติกรรมติดเกมของวัยรุ่นตอนต้นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับ โปรแกรมหลังการทดลอง 1 เดือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งต่อพฤติกรรมติดเกมสามารถลดพฤติกรรมติดเกมในวัยรุ่นตอนต้นได้ จึงควรมีการนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการลดพฤติกรรมติดเกมในกลุ่มนี้ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641231017-นิรัชพร เที่ยงใชย.pdf7.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.