Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชมพูนุท ศรีรัตน์-
dc.contributor.advisorจิราภรณ์ เตชะอุดมเดช-
dc.contributor.authorคนึงนิจ พีระภาสกรen_US
dc.date.accessioned2024-11-17T07:29:54Z-
dc.date.available2024-11-17T07:29:54Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80177-
dc.description.abstractMucositis is a common complication for cancer patients receiving chemotherapy, having both physical and psychological effects on them. Therefore, prevention and management are undertaken to reduce oral mucositis’ occurrence and severity. The purpose of this quasi-experimental study was to compare the incidence of oral mucositis among cancer patients receiving chemotherapy between one group receiving the program and one receiving normal nursing care and to compare onset time, time duration of symptoms, and the severity of mucositis between the two groups. Purposive sampling was used to selected 52 chemotherapy-treated cancer patients from the Chemotherapy Unit, Chomthong Hospital, who were divided into an experimental group and a control group of 26 participants each. The research tools included: 1) an oral care program combined with cryotherapy which the researcher developed from a literature review and which consisted of 2 components: i) oral care, consisting of individual oral care knowledge provided through media presentations, and oral care equipment (soft toothbrush, toothpaste, oral mirror, normal saline mouthwash) and ii) cryotherapy, which involved sucking ice continuously for 30 minutes while receiving chemotherapy; and 2) an oral mucositis symptoms assessment from the World Health Organization (WHO, 1979). The data collection tools consisted of a personal information questionnaire, which included information about the patient’s cancer; a form for recording oral symptoms at home; and a follow-up form to encourage continuous oral care by telephone. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square test, Fisher’s exact test, independent t-test, and the Mann-Whitney U test. The results showed that the incidence of oral mucositis in the experimental group receiving the oral care program combined with cryotherapy (5 people, 19.2%) was less than that in the control group (26 people, 100%). There was a statistically significant (p < .001) onset time of oral mucositis in the experimental group (x ̅= 6.6, S.D. = 0.54), significantly longer than that of the control group (x̅ = 3.92, S.D. = 0.68) (p < .001). The severity of oral mucositis in the experimental group (x 2.80, S.D. = 0.44) was lower than that in the control group (x ̅= 4.73, S.D. = 1.18) with statistical significance (p < .001). The degree of severity of oral mucositis in the experimental group (x = 0.19, S.D. = 0.40) was significantly less than that of the control group (x= 1.88, S.D. = 0.51) (p < .001).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากร่วมกับการบำบัดด้วยความเย็นต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeEffect of the Combined Oral Care and Cryotherapy Program on Oral Mucositis in Cancer Patients Receiving Chemotherapyen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเยื่อบุช่องปาก -- โรค-
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashเคมีบำบัด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบเป็นภาวะแทรกซ้อนหนึ่งที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมี บำบัด และส่งผลกระทบทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป้าย จึงมีการป้องกันและจัดการเพื่อลดการ เกิดและลดความรุนแรงของภาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัขแบบกึ่งทดลอง มี วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเกิดภาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม และกลุ่มได้รับการพขาบาลปกติ และเปรียบเทียบ ระยะเวลาเริ่มเกิด ระขะเวลาที่มีอาการ ความรุนแรง ของกาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกับกลุ่มได้รับการพยาบาลปกติ กลุ่มตัวอย่างเลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง คือ ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับขาเคมีบำบัดที่รับการรักษาที่หน่วยเคมีบำบัดโรงพยาบาลจอมทองจำนวน 52 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มทคลอง 26 ราย และกลุ่มควบคุม 26 ราช เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการดูแลช่องปากร่วมกับการบำบัดด้วยควายความเข็น ผู้วิจัยได้พัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.การดูแลช่องปาก ประกอบด้วย การให้ความรู้การดูแลช่องปาก รายบุคคลโดยสื่อนำเสนอ อุปกรณ์ในการดูแลช่องปาก (แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่ม ธาสีฟ้น กระจกส่อง ช่องปาก น้ำเกลือบ้วนปาก) การบ้วนปากโดยการใช้น้ำเกลือ 2.การบำบัดด้วยความเย็น โดยอมน้ำแข็ง ต่อเนื่อง 30 นาทีขณะได้รับยาเคมีบำบัด 2) แบบบประเมินอาการเชื่อบุช่องปากขององค์การอนามัยโลก (WHO, 1979) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และ ข้อมูลโรคมะเร็ง แบบบันทึกอาการในช่องปากที่บ้าน แบบติดตามกระตุ้นการดูแลช่องปากอย่าง ต่อเนื่องทางโทรศัพท์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย โดยใช้สถิติไคสแควร์ (chi-square test)สถิติฟิชเชอร์ (Fisher Exact Test) สถิติที่ (independent t-test) และสถิติแมนวิทนีย์ซู (Mann-Whitney U test) ผลการวิจัยพบว่า การเกิดของภาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบของกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรม การดูแลช่องปากร่วมกับการบำบัดด้วยความเข็น (5 คน ร้อขละ 19.2) น้อยกว่ากลุ่มควบคุม (26 คน ร้อยละ 100) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ระชะเวลาที่เริ่มเกิดของกาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบ ของกลุ่มทดลอง (X=6.6, S.D.=0.54) นานกว่ากลุ่มควบคุม (X=3.92, S.D.=0.68) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p < .001) ระยะเวลาที่มีอาการของกาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบของกลุ่มทลอง (X=2.80, S.D.= 0.44) น้อยกว่ากลุ่มควบคุม (X=4.73,S.D.= 1.18) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) ระดับ ความรุนแรงของภาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบของกลุ่มทดลอง (X=0.19, S.D.= 0.40) น้อยกว่ากลุ่ม ควบคุม (R=1.88, S.D.= 0.51) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงถึงผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากร่วมกับการบำบัดด้วยความ เซ็นสามารถนำไปใช้เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับขาเคมีบำบัดในป้องกัน การเกิด และลดความรุนแรง ของภาวะเชื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231178-คนึงนิจ พีระภาสกร.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.