Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKanokwan Kiattisin-
dc.contributor.advisorPimporn Leelapornpisid-
dc.contributor.advisorSurapol Natakankitkul-
dc.contributor.authorWeeraya Suwannaphasrien_US
dc.date.accessioned2024-11-17T04:45:19Z-
dc.date.available2024-11-17T04:45:19Z-
dc.date.issued2021-03-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80170-
dc.description.abstractPurple corn cob is a waste from corn cultivation that usually is overlooked. Nevertheless, the purple corn cob is rich in anthocyanins. Anthocyanins have good properties for treating human diseases. Anthocyanins are phenolic compound classified in the group of flavonoids with unstable water-soluble characteristic that could be easily decomposed by heat and light. Due to the instability of anthocyanins, the formulation is an important factor for improving the stability. Therefore, this research aimed to select the best conditions for microwave-assisted extraction, study antioxidant activity, analyze chemical compounds and develop purple corn cob extract-loaded nanoliposomes to improve the stability of anthocyanins. The purple corn cob was extracted with 70%v/v ethanol by microwave-assisted extraction. The results showed that the most suitable extraction conditions were 3 min at 675 W with plant to solvent ratio at 1 : 20. This purple corn cob extract consisted of the highest total anthocyanins content at 312.54 ± 1.44 mg cyanidin-3-O-glucoside chloride equivalent (C3G)/g extract. In addition, the extract consisted of C3G at 6.96 ± 0.21 mg/g of the extract analyzed by HPLC. The results of antioxidant activity indicated that the extract had IC50 by ABTS and lipid peroxidation inhibition assays including FRAP value by FRAP assay at 3.44 ± 0.01 mg/mL, 9.59 ± 0.03 mg/mL, and 1.15 ± 0.06 mM Fe2+/g extract, respectively. Purple corn cob extract at a concentration of 1 mg/mL was successfully loaded in nanoliposomes by thin-film hydration method consisting of phosphatidylcholine (PC), cholesterol (Chol), sodium cholate (SC), and soybean oil (SO) at 0.09, 0.01, 0.05 and 0.03 g, respectively. The formulation had a particle size of 93.89 ± 1.53 nm, polydispersity index (PDI) of 0.23 ± 0.01, and a zeta potential of 56.20 ± 2.04 mV. In addition, the purple corn cob extract-loaded nanoliposomes possessed total anthocyanins content at 187.17 ± 2.51 mg C3G/g extract and percent inhibition at 19.50 ± 0.37 by ABTS assay. The entrapment efficiency of purple corn cob extract-loaded nanoliposomes was found 82.50%. From the stability study, it was kept in heating-cooling condition for 6 cycles, 4ºC, 45ºC and room temperature (dark and light) for 3 months. The results from all storage conditions except 4ºC showed that particle size and zeta potential were significantly different (p<0.05) from the baseline, while PDI value was not significantly different (p>0.05). On the part of antioxidant activity, total anthocyanins content and amount of C3G as compared with extract in solution were found that keeping at 4ºC had the lowest affect to C3G content followed by at room temperature (dark), 45ºC, and room temperature (light), respectively. Nanoliposomes could improve the stability of anthocyanins greater than extract in solution in all conditions. In summary, the purple corn cob extract-loaded nanoliposomes are an interesting formulation for further development into cosmetic products.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of purple corn cob extract-loaded Nanoliposomes to increase stability of Anthocyaninsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนานาโนไลโปโซมที่กักเก็บสารสกัดซังข้าวโพดสีม่วงเพื่อเพิ่มความคงตัวของแอนโทไซยานินen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCorncobs-
thailis.controlvocab.lcshAnthocyanins-
thailis.controlvocab.lcshPlant extracts-
thailis.controlvocab.lcshCosmetics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractซังข้าวโพดสีม่วงเป็นผลพลอยได้หรือวัสดุเหลือใช้จากการเพาะปลูกข้าวโพดที่มักไม่ได้รับ ความสนใจ แต่อย่างไรก็ตามพบว่าซังข้าวโพดสีม่วงเป็นแหล่งของสารแอนโทไซยานินที่สำคัญ สาร แอนโทไซยานินมืคุณสมบัติที่ดีในการรักษาโรคในมนุษย์ โดยเป็นสารประกอบฟืนอลที่จัดอยู่ใน กลุ่มฟลาโวนอยด์ ซึ่งละลายน้ำได้แต่ไม่เสถียร สามารถสลายตัวได้ง่ายด้วยความร้อนและแสง เนื่องจากความไม่คงตัวของสารแอนโทไซยานินทำให้ดำรับหรือรูปแบบบตำรับมีความสำคัญต่อการ เพิ่มความคงตัวให้แก่สาร ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเลือกสภาวะที่ดีที่สุดสำหรับการสกัดด้วย คลื่นไมโครเวฟ ศึกษาฤทธิ์ด้านออกซิเดชัน วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี และพัฒนานาโนไลโปโซม ที่เก็บกักสารสกัดชังข้าวโพดสีม่วงเพื่อเพิ่มความคงตัวของแอนไทไซยานิน นำตัวอย่างซังข้าวโพด สีม่วงมาสกัดโดยใช้ตัวทำละลาย70%v/v เอทานอลด้วยคลื่นไมโครเวฟ จากผลการทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการสกัด คือ ที่เวลาสกัด 3 นาที กำลังไฟ 675 วัตต์ อัตราส่วนพืนต่อตัวทำละลาย เท่ากับ 1 : 20 สารสกัดที่ได้มีปริมาณแอนโทไซยานินรวมสูงสุดเท่ากับ 312.54 + 1.44 มิลลิกรัม cyanidin-3-O-glucoside chloride equivalent (C3G) ต่อกรัมสารสกัด และเมื่อวิเคราะห์ด้วยเครื่องโคร มาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูงพบว่ามีปริมาณ C3G เท่ากับ 6.96 + 0.21 มิลลิกรัมต่อกรัมสารสกัด เมื่อทดสอบฤทธิ์ด้านออกซิเดชันด้วยวิธี ABTS พบว่ามีค่าIC, เท่ากับ 3.44 + 0.01 มิลลิกรัมต่อ มิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งการเกิดออกซิเดชันของกรดไขมัน โดยมีค่า IC. เท่ากับ 9.59 + 0.03 มิลลิกรัมต่อ มิลลิลิตร และมีค่า FRAP value เท่ากับ 1.15 + 0.06 mM Fe" ต่อกรัมสารสกัด เมื่อทดสอบด้วยวิธี FRAP จากนั้นพัฒนาดำรับนาโนไลโปโซมที่เก็บกักสารสกัดซังข้าวโพดสีม่วงที่ความเข้มข้น 1มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ด้วยวิธี thin-film hydration method โดยมืองค์ประกอบของ phosphatidylcholine (PC), cholesterol (Chol), sodium cholate (SC) และน้ำมันถั่วเหลือง (SO) ใน ปริมาณ 0.09, 0.01, 0.05 และ 0.03 กรัม ตามลำดับ พบว่าตำรับมีขนาดอนุภาคาคเท่ากับ 93.89 + 1.53 นา โนเมตร ค่าดัชนึการกระจายตัวของอนุภาคเท่ากับ 0.23 + 0.01 และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ผิวประจัน เท่ากับ 56.20 + 2.04 มิลลิโวลต์ ตำรับมีปริมาณแอนโทไซยานินรวมเท่ากับ 187.17 + 2.51 มิลลิกรัม C3G ต่อกรัมสารสกัด มีร้อยละการยับยั้งอนุมูลอิสระเท่ากับ 19.50 + 0.37 เมื่อทดสอบด้วยวิธี ABTS และมีประสิทธิภาพในการกักเก็บสารสำคัญของดำรับได้ถึง 82.50% การทดสอบความคงตัวของตำรับ นาโนไลโปโซมที่กักเก็บสารสกัดซังข้าวโพดสีม่วงกายใต้สภาวะเร่งด้วยอุณหภูมิ,4"C , 45"C, อุณหภูมิห้องแบบมีแสง และ อุณหภูมิห้องแบบหลีกเลี่ยงแสงเป็นเวลา 3 เดือน พบว่าที่ทุกสภาวะการ เก็บยกเว้นที่อุณหภูมิ 4"C ตำรับมีขนาดอนุภาคและค่าความต่างศักดิ์ไฟฟ้าที่ผิวประจันแตกต่างจาก เริ่มต้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในขณะที่ค่าดัชนึการกระจายตัวของขนาดอนุภาค ไม่ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับเริ่มต้น (p>0.05) เมื่อทำการเปรียบเทียบฤทธิ์ด้าน ออกซิเดชัน ปริมาณแอนโทไซยานินรวม และปริมาณ C3G ระหว่างตำรับนาโนไลโปโซมที่กักเก็บ สารสกัดซังข้าวโพดสีม่วงกับสารละลายสารสกัด พบว่าภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 4"C มีผลต่อปริมาณ C3G น้อยที่สุด ตามด้วยอุณหภูมิห้องแบบป้องกันแสง สภาวะเร่งด้วยอุณหภูมิ อุณหภูมิ 45"C และ อุณหภูมิห้องแบบไม่ป้องกันแสงตามลำดับ และชังพบว่านาโนไลไปโซมสามารถรักษาความคงตัว ของแอนโทไซยานินได้ดีกว่าสารละลายสารสกัดในทุกสภาวะการทดสอบ โดยสรูปนาโนไลโปโซม ที่กักเก็บสารสกัดชังข้าวโพดสีม่วงเป็นตำรับที่มีความน่าสนใจในการนำไปต่อยอดพัฒนาเป็น ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611031014 วีรยา สุวรรณนภาศรี.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.