Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีดา พิชยาพันธ์-
dc.contributor.authorธีรภัทร ขาวเหลืองen_US
dc.date.accessioned2024-11-16T17:01:55Z-
dc.date.available2024-11-16T17:01:55Z-
dc.date.issued2024-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80168-
dc.description.abstractThis research aims to study the effects of using Virtual Reality (VR) simulation on the Willingness to Accept (WTA) compensation among people affected by a new airport development and to assess the WTA value for potential noise impacts. The study employed a Double-Bounded Contingent Valuation Method (CVM) survey, dividing samples into VR and non-VR groups of 70 participants each for hypothesis testing, and collected additional data using VR in the projected impact area (NEF 30-40) of the proposed new airport. Results showed that VR usage significantly increased WTA values with a medium effect size (r = -0.44). Interval regression analysis revealed that gender, age, marital status, education level, monthly income, and noise intensity levels influenced WTA values. The average WTA was 1,583.19 baht per person per month. The study revealed that as noise levels increased, so did WTA values. When compared to low noise conditions, medium noise environments showed WTA values that were 54% higher, while high noise settings demonstrated a 101% increase. This research demonstrates the potential of VR technology in environmental impact valuation and can be applied to develop appropriate compensation policies.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินมูลค่าความเต็มใจจะยอมรับเงินชดเชยจากเสียงอากาศยานสำหรับท่าอากาศยานเชียงใหม่แห่งใหม่en_US
dc.title.alternativeValuation of willingness to accept compensation from aircraft noise for new Chiang Mai Airporten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashท่าอากาศยานเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเสียงเครื่องบิน-
thailis.controlvocab.thashเครื่องบิน -- เสียงรบกวน-
thailis.controlvocab.thashเครื่องบิน -- เสียงรบกวน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thailis.controlvocab.thashเสียงรบกวนจากท่าอากาศยาน-
thailis.controlvocab.thashค่าทดแทน-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโยธา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการใช้สภาพแวดล้อมจำลองความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) ต่อมูลค่าความเต็มใจยอมรับ (Willingness to Accept: WTA) เงินชดเชยของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาท่าอากาศยานแห่งใหม่ และเพื่อประเมินมูลค่า WTA สำหรับผลกระทบทางเสียงที่อาจเกิดขึ้น การศึกษาใช้วิธีการสำรวจด้วยแบบสอบถามแบบ Double-Bounded Contingent Valuation Method (CVM) โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มที่ใช้ VR และไม่ใช้ VR กลุ่มละ 70 คน เพื่อการทดสอบสมมติฐาน และเก็บข้อมูลเพิ่มเติมโดยใช้ VR ในพื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ (NEF 30-40) จากท่าอากาศยานแห่งใหม่ที่ถูกคาดการณ์ ผลการวิจัยพบว่าการใช้ VR มีผลทำให้ค่า WTA สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีขนาดอิทธิพลปานกลาง (r = -0.44) การวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองการถดถอยแบบช่วงพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อมูลค่า WTA ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และระดับความเข้มเสียง โดยมูลค่า WTA เฉลี่ยอยู่ที่ 1,583.19 บาทต่อคนต่อเดือน นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างระดับความเข้มเสียงและค่า WTA โดยที่ระดับความเข้มเสียงปานกลางและสูงมีค่า WTA สูงกว่าระดับต่ำร้อยละ 54 และ 101 ตามลำดับ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยี VR ในการประเมินมูลค่าผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนานโยบายการชดเชยที่เหมาะสมen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650631008-ธีรภัทร ขาวเหลือง.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.