Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดา สวาทะนันทน์-
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorศิริมน จรัสสันติจิตen_US
dc.date.accessioned2024-11-12T11:00:38Z-
dc.date.available2024-11-12T11:00:38Z-
dc.date.issued2024-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80149-
dc.description.abstractThis study had two main objectives: 1) to study the sustainable coexistence with living in the harmony of nature competency of grade 6 students after their studies using the POGIL learning process and 2) to study the teamwork and collaboration competency of grade 6 students after their studies using the POGIL learning process. The research population was 13 of grade 6 students from Banpangdaeng school, during the second semester of the academic year 2566. The instruments used to collect data were four learning management plans using the POGIL learning process, along with data collection tools, including competence assessment forms for Sustainable coexistence with living in the harmony of nature, and teamwork and collaboration. The data were analyzed to by means, percentages, and standard deviations. The study findings were summarized as follows: 1) The sustainable coexistence with living in the harmony of nature competency of students after using the POGIL learning process were above expectation. And 2) The teamwork and collaboration competency of students after using the POGIL learning process were above expectationen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิลเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการอยู่ร่วมกับ ธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนและสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeUsing POGIL process to enhance sustainable coexistence with living in the harmony of nature and science, and teamwork and collaboration competency of grade 6 studentcen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashการวัดผลทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการทำงานเป็นทีม-
thailis.controlvocab.thashความคิดอย่างมีวิจารณญาณ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล 2) ศึกษาสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปางแดง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินสมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน และแบบประเมินสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล อยู่ในระดับเหนือความคาดหวัง และ 2) สมรรถนะการอยู่การรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบโพกิล อยู่ในระดับเหนือความคาดหวังen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232023-ศิริมน จรัสสันติจิต.pdf10.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.