Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุลักษณ์ สุมิตสวรรค์-
dc.contributor.authorวิชัยรัตน์ ใหญ่วงศ์en_US
dc.date.accessioned2024-11-06T09:30:14Z-
dc.date.available2024-11-06T09:30:14Z-
dc.date.issued2024-10-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80145-
dc.description.abstractIndustrial plants are a major source of air pollution that affects public health and the environment. This research studied the distribution of air pollutants from factory groups type 2, 8 and 88 that use biomass fuels (wood and bagasse) and fuel oil in Mueang Lamphun District using the AERMOD model at different fuel consumption rates, along with average general stack measurement data. From the assessment of the distribution of air pollutants, including TSP, PM10, PM2.5, NO2, SO2 and CO in 2023 and the period of the smog episode (PM2.5) of 2023, it was found that the concentration obtained from the assessment compared to the air quality standard in Thailand did not exceed the standard in both the location of the highest concentration and the location of those affected by air pollution, that the impact was very small. The distribution pattern of air pollution occurs in all directions, with the majority of air pollution distribution occurring in the northeast direction. In addition, the application of air pollution treatment systems to control air pollutants can reduce the concentration of pollutants. Climate characteristics such as wind direction and wind speed are another factor that affects the distribution and concentration of air pollutants.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการกระจายตัวของมลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน ด้วยโปรแกรมการคาดการณ์มลสารทางอากาศสำเร็จรูปen_US
dc.title.alternativeAir pollution dispersion from industrial plants in Mueang Lamphun district area using AERMOD modelen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอากาศ-- แบบจำลอง-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศในอาคาร-
thailis.controlvocab.thashโรงงาน -- ลำพูน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรงงานอุตสาหกรรมถือเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้ศึกษาการกระจายตัวของมลพิษทางอากาศของกลุ่มโรงงานประเภทที่ 2, 8 และ 88 ที่มีการใช้เชื้อเพลิงชีวมวล (ไม้ และชานอ้อย) และน้ำมันเตา ในพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน ด้วยแบบจำลองอากาศ AERMOD ในอัตราการใช้เชื้อเพลิงที่ต่างกัน พร้อมทั้งข้อมูลการตรวจวัดปล่องระบายทั่วไปเฉลี่ย ซึ่งจากการประเมินการกระจายตัวของมลพิษทางอากาศ ได้แก่ TSP , PM10 , PM2.5 , NO2 , SO2 และ CO ในช่วงปี 2566 และช่วงที่ประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ของปี 2566 พบว่า ค่าความเข้มข้นที่ได้จากการประเมินเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานของคุณภาพอากาศของประเทศไทย มีค่าไม่เกินมาตรฐาน ทั้งตำแหน่งที่เกิดความเข้มข้นสูงสุด และตำแหน่งผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษอากาศ ซึ่งถือว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นน้อยมาก และมีลักษณะการกระจายตัวไปทุกทิศทาง โดยส่วนใหญ่มีการกระจายตัวของมลพิษอากาศไปในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ การนำระบบบำบัดมลพิษอากาศมาปรับใช้ในการควบคุมก่อนการปล่อยมลพิษอากาศ สามารถลดค่าความเข้มข้นของมลพิษลงได้ และลักษณะภูมิอากาศ เช่น ทิศทางลม และความเร็วลม ถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อลักษณะการกระจายตัวและความเข้มข้นของมลพิษอากาศที่เกิดขึ้นได้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wichairat yaiwong-650632043.pdf8.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.