Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80144
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นที สุริยานนท์ | - |
dc.contributor.author | นิคม วัดเกตุ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-06T00:42:07Z | - |
dc.date.available | 2024-11-06T00:42:07Z | - |
dc.date.issued | 2024-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80144 | - |
dc.description.abstract | The construction of buildings causes greenhouse gas emissions. This study aims to estimate and analyze the embodied carbon in the structural and architectural elements of a case study: a one-story reinforced concrete factory building with an area of 90 square meters in Chiang Mai Province. The research followed the life cycle assessment framework of ISO 14040 standards and the construction life cycle assessment framework of the BS EN 15978:2011 standard. Greenhouse gas-emitting activities during the factory construction were identified using the work breakdown structure technique. The study revealed that the total embodied carbon from all work of the factory amounted to 29,353.47 kgCO2e, with structural work and architectural work accounting for 15,139.16 kgCO2e and 11,939.44 kgCO2e, respectively. Consequently, the ratio of embodied carbon in structural work to architectural work was 1:0.79 and Construction Site Support accounting for 2,274.87 kgCO2e. Furthermore, construction products (A1-3) amounted to 22,926.93 kgCO2e, the transports (A4) amounted to 1,338.38 kgCO2e while emissions due to site activities (A5a) amounted to 3,547.33 kgCO2e and materials wasted on site (A5w) amounted to 1,540.83 kgCO2e. The study also identified that Reinforced Concrete work, Walling work, and Structural work are the primary source of embodied carbon in the factory, contributing 67.50 %. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประมาณค่าคาร์บอนแฝง : กรณีศึกษาอาคารโรงงานแห่งหนึ่ง | en_US |
dc.title.alternative | Embodied carbon estimation : A Case study of a factory building | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | คาร์บอน | - |
thailis.controlvocab.thash | ก๊าซเรือนกระจก | - |
thailis.controlvocab.thash | การก่อสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การก่อสร้างอาคารก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก งานวิจัยนี้ประสงค์จะทำการประมาณและวิเคราะห์ค่าคาร์บอนแฝงส่วนงานโครงสร้างและงานสถาปัตยกรรมของอาคารโรงงานที่ถูกเลือกเป็นกรณีศึกษา ซึ่งเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 ชั้นขนาดพื้นที่ใช้สอย 90 ตารางเมตรในจังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยนี้ดำเนินการตามกรอบการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ของอนุกรมมาตรฐาน ISO14040 และการประเมินวัฏจักรชีวิตในงานก่อสร้างของมาตรฐาน BS EN 15978: 2011 กิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกถูกระบุโดยใช้เทคนิคการแบ่งงานย่อย งานวิจัยนี้ได้แสดงว่าปริมาณคาร์บอนแฝงของโรงงานมีค่าเท่ากับ 29,353.47 kgCO2e จำแนกเป็นคาร์บอนแฝงจากงานโครงสร้างและงานสถาปัตยกรรมเท่ากับ 15,139.16 kgCO2e และ 11,939.44 kgCO2e ตามลำดับ โดยมีสัดส่วนปริมาณคาร์บอนแฝงงานโครงสร้างต่องานสถาปัตยกรรมเท่ากับ 1 ต่อ 0.79 ส่วนงานสนับสนุนการก่อสร้างมีค่าคาร์บอนแฝงเท่ากับ 2,274.87 kgCO2e โดยคาร์บอนแฝงในส่วนของการได้มาซึ่งวัสดุก่อสร้าง (A1-3) มีค่าเท่ากับ 22,926.93 kgCO2e การขนส่ง (A4) มีค่าเท่ากับ 1,338.38 kgCO2e การใช้พลังงาน (A5a) มีค่าเท่ากับ 3,547.33 kgCO2e การจัดการเศษวัสดุ (A5w) มีค่าเท่ากับ 1,540.83 kgCO2e นอกงานนี้งานวิจัยนี้ยังได้แสดงว่างานโครงสร้าง ค.ส.ล. เหนือดิน งานผนังอาคาร และงานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเป็นแหล่งกำเนิดสำคัญของคาร์บอนแฝงของโรงงาน โดยก่อให้เกิดคาร์บอนแฝงรวมกันถึงร้อยละ 67.50 ของปริมาณคาร์บอนแฝงทั้งหมด | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650632034-NIKOM WATKATE.pdf | 6.48 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.